กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในกลุ่มผู้ประกอบอาชีพทำสวนผลไม้ในตำบลกาบังกาบังปีงบประมาณ ๒๕๖๖
รหัสโครงการ 009
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงพยาบาลกาบัง
วันที่อนุมัติ 16 กุมภาพันธ์ 2566
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 3 กรกฎาคม 2566 - 30 กันยายน 2566
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2566
งบประมาณ 15,600.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลกาบัง อำเภอกาบัง จังหวัดยะลา
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มวัยทำงาน 55 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ประเทศไทยเป็นประเทศเกษตรกรรมร้อยละ ๖๐ มีหน้าที่ถือครองการเกษตรทั้งประเทศทั้งหมด ๑๒๗. ๘๔ ล้านไร่ (สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร, ๒๕๕๘ แม้ว่าในปัจจุบันจะมีแนวโน้มของอุตสาหกรรมที่เพิ่มมากขึ้น ประชากรวัยแรงงานบางส่วนก็ยังทำงานภาคเกษตรกรรม ซึ่งมีรายงานการใช้สารเคมีป้องกันกำจัดศัตรูพืชเพื่อเพิ่มผลผลิตและเกษตรกรจำนวนมากยังคงมีการใช้สารป้องกันกำจัดศัตรูพืชจำพวกแมลง และไรศัตรูพืช ส่งผลกระทบจากการที่เกษตรกรขาดความเข้าใจถึงประโยชน์และโทษของการใช้สารเคมี ในการป้องกันและกำจัดศัตรูพืชโดยละเลยต่อการใช้สิ่งปกปิดร่างกายเพื่อป้องกันสารพิษ(สมปอง ทองดีแท้, ๒๕๕๙) กองระบาดวิทยา กระทรวงสาธารณสุข ได้รายงานสถิติผู้ป่วยและเสียชีวิตในปี ๒๕๕๗ ไว้ว่าจำนวนผู้ป่วยจากสารเคมีป้องกันกำจัดศัตรูพืช ซึ่งจำแนกส่วนใหญ่อยู่ในวัยทำงาน ช่วงอายุ ๒๕ - ๓๔ ปี รองลงมาที่มีอายุ ๑๕-๒๔ ปีและ ๓๔ -๔๔ ปี การนำเข้าสารกำจัดศัตรูพืชมีปริมาณเพิ่มมากขึ้นจึงเป็นเรื่องที่น่าเป็นห่วงในด้านความปลอดภัยของมนุษย์และสิ่งแวดล้อม (ศุภมาศ พนิชศักดิ์พัฒนา, ๒๕๕๙) ในอำเภอกาบังมีผู้ประกอบอาชีพจำนวนเกษตรกรด้านยางพาราเป็นอันดับที่ ๑ รองลงมาคือทำสวนผลไม้ จำนวน ๓,๐๙๖ ครัวเรือนทั้งอำเภอกาบัง จากการเก็บข้อมูลผู้ประกอบอาชีพทำสวนผลไม้ ปี ๒๕๖๖ ให้บริการตรวจคัดกรองความเสี่ยงจากการสัมผัสสารเคมี กำจัดศัตรูพืช โดยกระดาษทดสอบโคลีนเอสเตอเรส ผู้รับผิดชอบงานอาชีวอนามัยโรงพยาบาลกาบัง เพื่อให้บริการตรวจคัดกรองความเสี่ยงจากการสัมผัสสารเคมี กำจัดศัตรูพืช โดยกระดาษทดสอบโคลีนเอสเตอเรส จำนวนผู้มารับบริการทั้งสิ้น 61 คน ผลการตรวจ พบว่า อยู่ในระดับไม่ปลอดภัย จำนวน 40 ราย ระดับมีความเสี่ยง 16 ราย ระดับปลอดภัยจำนวน 2 ราย และ ระดับ ปกติ จำนวน 3 ราย
ดังนั้นทางโรงพยาบาลกาบังเล็งเห็นสภาพปัญหา ในกลุ่มผู้ประกอบอาชีพทำสวนผลไม้ในหมู่ ๔ ๕ ๗ ของอำเภอกาบัง มาปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในกลุ่มผู้ประกอบอาชีพทำสวนผลไม้ในอำเภอกาบัง ปีงบประมาณ 2566 การกระจายตัวของปัญหา สาเหตุ และความรุนแรงในประเด็นสำคัญต่างๆ เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดปัญหาด้านสุขภาพของกลุ่มประกอบอาชีพทำสวนผลไม้ในหมู่ ๔ ๕ ๗ ของอำเภอกาบังต่อไป

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้ผู้ประกอบอาชีพผู้ประกอบอาชีพทำสวนผลไม้ในหมู่ ๔ ๕ ๗ ได้รับการติดตามการตรวจสุขภาพ

ผู้ประกอบอาชีพผู้ประกอบอาชีพผู้ประกอบอาชีพทำสวนผลไม้ในหมู่ ๔ ๕ ๗ ของตำบลกาบังได้รับการติดตามและป้องกันความเสี่ยงจากการใช้สารเคมีในการป้องกันศัตรูพืชได้

50.00 60.00
2 เพื่อให้ผู้ประกอบอาชีพผู้ประกอบอาชีพทำสวนผลไม้ในหมู่ ๔ ๕ ๗ ได้รับการติดตามการตรวจสุขภาพ

ผู้ประกอบอาชีพผู้ประกอบอาชีพผู้ประกอบอาชีพทำสวนผลไม้ในหมู่ ๔ ๕ ๗ ของตำบลกาบังได้รับการติดตามและป้องกันความเสี่ยงจากการใช้สารเคมีในการป้องกันศัตรูพืชได้

0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
วันที่ชื่อกิจกรรมกลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)

วัตถุประสงค์ข้อที่ 1 : เพื่อให้ผู้ประกอบอาชีพผู้ประกอบอาชีพทำสวนผลไม้ในหมู่ ๔ ๕ ๗ ได้รับการติดตามการตรวจสุขภาพ

รวม 0 0.00 0 0.00

วัตถุประสงค์ข้อที่ 2 : เพื่อให้ผู้ประกอบอาชีพผู้ประกอบอาชีพทำสวนผลไม้ในหมู่ ๔ ๕ ๗ ได้รับการติดตามการตรวจสุขภาพ

รวม 0 0.00 0 0.00

ไม่ระบุวัตถุประสงค์

1 ส.ค. 66 จัดอบรมผู้ดูแลให้ความรู้และการแลกเปลี่ยนความรู้ในการดูแลผู้ประกอบอาชีพทำสวนผลไม้ 12,600.00 -
1 ส.ค. 66 ติดตามและออกเยี่ยมบ้าน 3,000.00 -

หมายเหตุ : งบประมาณ และ ค่าใช้จ่าย รวมทุกวัตถุประสงค์อาจจะไม่เท่ากับงบประมาณรวมได้

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

-ผู้ประกอบอาชีพผู้ประกอบอาชีพผู้ประกอบอาชีพทำสวนผลไม้ในหมู่ ๔ ๕ ๗ ของตำบลกาบังมีความรู้ความเข้าใจสามารถปฏิบัติตนป้องกันไม่ให้เกิดความเสี่ยงจากการปฏิบัติงานได้
-ผู้ประกอบอาชีพผู้ประกอบอาชีพผู้ประกอบอาชีพทำสวนผลไม้ในหมู่ ๔ ๕ ๗ ของตำบลกาบังได้รับการติดตามและป้องกันความเสี่ยงจากการใช้สารเคมีในการป้องกันศัตรูพืชได้

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 18 พ.ค. 2566 00:00 น.