กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ หนูน้อยสุขภาพดี(ส่งเสริมโภชนาการสมวัย) ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านเกาะนางคำ ปีงบประมาณ 2566
รหัสโครงการ 66-L3333-03-14
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 3 สนับสนุนการจัดกิจกรรมของ ศูนย์เด็กเล็ก/ผู้สูงอายุ/คนพิการ
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยงานอื่นๆ ที่ไม่ใช่หน่วยงานสาธารณสุข เช่น โรงเรียน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านเกาะนางคำ
วันที่อนุมัติ 8 พฤษภาคม 2566
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 8 พฤษภาคม 2566 - 30 กันยายน 2566
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2566
งบประมาณ 13,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางมนันญา เห็มมัน
พี่เลี้ยงโครงการ นายกำพล เศรษฐสุข
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลเกาะนางคำ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานอาหารและโภชนาการ
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 36 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน :

กลุ่มวัยทำงาน 47 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

หลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ) เนื่องด้วยปัจจุบันศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านเกาะนางคำได้รับเด็กตามเกณฑ์ตั้งแต่ อายุ 2 – 5 ปีประสบปัญหาเรื่องรูปร่างที่ไม่สมส่วน เนื่องจากทั้ง 5 คน มีปัญหาในน้ำหนักตัวและปัญหาการรับประทานอาหารค่อนข้างมากเด็กจะดื่มนมเป็นอาหารหลักจึงให้เกิดปัญหารูปร่างไม่สมส่วน หากปล่อยทิ้งไว้จะส่งผลต่อคุณภาพชีวิตประจำวันและการเรียนของเด็ก ดังนั้นโครงการพัฒนาระบบกลไกลเพื่อให้เด็กมีโภชนาการสมวัยและมีโภชนาการที่ดี ด้วยการกินอาหารถูกหลักโภชนาการครบ 5 หมู่ ลดขนมกรุบกรอบ อาหารถือเป็นสิ่งจำต่อคนเราและส่งผลไปถึงการพัฒนาสมองของเด็กในอนาคตต่อไป ทุกคนอยากมีสุขภาพดี ไม่เจ็บป่วย ต้องกินอาหารถูกต้อง เหมาะสมและพอเพียงจะทำให้สุขภาพร่างกายดีและนำไปสู่การมีคุณภาพดีในทางตรงกันข้ามหากกินอาหารที่ไม่มีประโยชน์ ไม่เพียงพอจะทำให้ขาดสารอาหาร หากกินมากเกินทำให้เป็นโรคอ้วน และเด็กในวัยนี้เป็นวัยที่มีความสำคัญของชีวิต เป็นวัยรากฐานของพัฒนาการเจริญเติบโตทั้งทางร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคมและสติปัญญา สมองเจริญเติบโตรวดเร็ว จำเป็นต้องได้รับการเลี้ยงดูที่ดีที่สุด เพื่อส่งเสริมพัฒนาการรอบด้าน ปัญหาที่พบปอยในเด็กวัยนี้ เจริญเติบโตไม่สมวัย ขาดสารอาหาร ชาดสารไอโอดีน โลหิตจาง ขาดธาตุเหล็ก พฤติกรรมเลี้ยงดูไม่เหมาะสมเลี้ยงดูด้วยนมแม่น้อยลง ภาวะโภชนาการเด็กก่อนวัยเรียน (2 – 5 ปี) พบว่าเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านเกาะนางคำในช่วงปีที่ผ่านมาเด็กมีน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ 5 คนและมีเด็กที่น้ำหนักเกินกว่าเกณฑ์ 2 คน จากเด็ก 35 คน คิดเป็นร้อยละ 15.38 ในอนาคตมีแนวโน้มจะเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ดังนั้นศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านท่าเนียนได้เล็งเห็นความสำคัญของการส่งเสริมภาวะโภชนาการในเด็กก่อนวัยเรียนเพื่อให้เด็กมีสุขภาพสมบูรณ์ แข็งแรง มีการเจริญเติบโตของสมองและร่างกายเหมาะสมตามวัย เติมโตเป็นทรัพยากรบุคคลที่มีคุณค่าและเป็นอนาคตที่สำคัญของประเทศชาติ จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมโภชนาการสมวัยสำหรับเด็กศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านเกาะนางคำขึ้น

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อเป็นการให้ความรู้ด้านโภชนาการแก่ครู ผู้ปกครอง และเด็ก

ผู้ปกครองมีความรู้ ความเข้าด้านโภชนาการในเด็ก อายุ 0 – 5 ปี ร้อยละ 90

0.00
2 เพื่อส่งเสริมและพัฒนาการภาวะโภชนาการสมวัยให้เด็กก่อนวัยเรียน

เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านเกาะนางคำ มีภาวะโภชนาการสมวัย ร้อยละ 90

0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
วันที่ชื่อกิจกรรมกลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
8 พ.ค. 66 - 30 ก.ย. 66 การอบรมให้ความรู้ เกี่ยวกับส่งเสริมโภชนาการสมวัยสำหรับเด็กศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านเกาะนางคำ 83 3,305.00 -
8 พ.ค. 66 - 30 ก.ย. 66 ระบายสีภาพอาหารเพื่อฝึกพัฒนาการสำหรับเด็กปฐม 83 70.00 -
8 พ.ค. 66 - 30 ก.ย. 66 เด็กๆออกกำลังกายยามเช้าหน้าเสาธงทุกๆวัน 83 8,000.00 -
8 พ.ค. 66 - 30 ก.ย. 66 ติดตามการประเมินผลการดำเนินงานและรายงานผลการดำเนินงาน 0 0.00 -
8 พ.ค. 66 - 30 ก.ย. 66 สาธิตแยกอาหาร/จัดอาหารเปรียบเทียบที่ประโยชน์/ไม่มีประโยชน์กับเด็กปฐม 83 1,625.00 -
รวม 332 13,000.00 0 0.00

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.เด็กนักเรียนที่เสี่ยงต่อการมีภาวะทุพโภชนาการได้รับการเฝ้าระวังและติดตามทางโภชนาการ 2.เด็กนักเรียนมีพัฒนาการทางด้านร่างกายและสมองเจริญเติมโตสมวัย 3.ผู้ปกครองมีความรู้ ความเข้าใจ ด้านโภชนาการในเด็ก อายุ 0-5 ปี

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 18 พ.ค. 2566 13:43 น.