กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกปีงบประมาณ 2566
รหัสโครงการ 66-L4135-01-01
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบุดี
วันที่อนุมัติ 16 มกราคม 2566
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 มกราคม 2566 - 30 กันยายน 2566
กำหนดวันส่งรายงาน 31 ตุลาคม 2566
งบประมาณ 42,640.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายสกุลเอก ชูเมือง
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลบุดี อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 21 พ.ค. 2566 21 พ.ค. 2566 42,640.00
รวมงบประมาณ 42,640.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 30 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

โรคไข้เลือดออกเป็นปัญหาสำคัญทางด้านสาธารณสุขและเป็นปัญหาซึงปัจจุบันมีแนวโน้มของการเกิดโรคสูงขึ้นในอดีตที่ผ่านมากลุ่มผู้ป่วยส่วนใหญ่ในกลุ่มอายุ 10-14ปี ซึ่งเ็นกลุ่มเด็กวัยเรียนรองลงมาได้แก่กลุ่มอายุ5-9ปีและการเกิดโรคมักจะระบาดในช่วงฤดูฝน สถารกการณ์โรคไข้เลือดออกประเทศไทยปี2565 ตั้งแต่1 มกราคม 2565 ถึง 31ธันวาคม 2565 จำนวนผู้ป่วยสะสม 39,504 ราย คิดเป็นอัตราฃะ 59.70 ต่อประชากรแสนคน เสียชีวิต 26ราย คิดเป็นอันตราย 0.07 ต่อประชากร แสน สถารการณ์ โรคไข้เลือดออกจังหวัดยะลา ปี 2565 ตั้งแต่1 มกราคม 2565 ถึง 31ธันวาคม 2565129 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 28.58 ต่อประชากรแสนคน ไม่มีผู้ป่วยเสียชีวิต ในเขตอำเภอเมืองยะลา ปี 2565 ตั้งแต่1 มกราคม 2565 ถึง 31ธันวาคม 2565มีจำนวนผู้ป่วยจำนวน 17 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 12.16 ต่อประชากรแสนคน ไม่มีผู้ป่วยเสียชีวิต มาตรการการควบคุมโรคที่ได้ผลในขณะนี้ยังคงเป็นมาตรการควบคุมยุงพาหะนไโรค ดั้งนั้นการที่จะให้ได้ผลอย่างเต็มที่จึงต้องอาศัยการมีส่วนร่วมของประชาชนทุกครัวเรือนร่วมกับเจ้าหน้าที่สาธาณสุขและผู้นำชุมชนช่วยป้องกันโรคดังกล่าวในหลากหลายรูปแบบเช่น การรณรงค์ การร่วมมือกับโรงเรียนชุมชนสถานที่ราชการต่างๆการจัดหาสารฆ่าลูกน้ำและสำคัญที่สุดคือการรู้จักป้องกันป้องกันตนเองไม่ให้ถูกยุงกัด แต่ในปัจจุบันพบว่าสถานการณ์ของโรคไข้เลือดออก ยังทวีความรุนแรงและมีผู้ป่วยมากขึ้นซึ่งจำเป็นต้องทำการควบคุมป้องกันและรณรงค์เพื่อให้สถานการณ์โรคไข้เลือดออกกลับอยู่ในสภาวะไม่รุนแรงและเพื่อเป็นการป้องกันอย่างต่อเนื่องโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบุดี จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้นเพื่อควบคุมและป้องกันโรค ไข้เลือดออกล่วงหน้าและทันท่วงทีที่เกิดโรค

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1.เพื่อลดเจำนวนและอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกประชากรทุกกลุ่มอายุ
  1. สามารถลดอัตราการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกให้เหลือไม่เกิน 80 ต่อประชากร
0.00
2 2.เพื่อเผยแพร่ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคไข้เลือดออกให้บุคคล ครอบครัว ชุมชนให้มีศักยภาพในการช่วยดูแลและลดการแพร่ระบาดของดรคไข้เลือดออก

2.ร้อยละ 80ให้ประชาชนในชุมชน มีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับโรคไข้เลือดออกและมี พฤติกรรมที่ถูกต้องเหมาะสม การป้องกันไม่ให้เกิดโรคไข้เลือดออก 3.ร้อยละ90 ลดแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลายภายในบ้าน ชุมชน วัด มัสยิดและ โรงเรียน

0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
วันที่ชื่อกิจกรรมกลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)

วัตถุประสงค์ข้อที่ 1 : 1.เพื่อลดเจำนวนและอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกประชากรทุกกลุ่มอายุ

รวม 0 0.00 0 0.00

วัตถุประสงค์ข้อที่ 2 : 2.เพื่อเผยแพร่ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคไข้เลือดออกให้บุคคล ครอบครัว ชุมชนให้มีศักยภาพในการช่วยดูแลและลดการแพร่ระบาดของดรคไข้เลือดออก

รวม 0 0.00 0 0.00

ไม่ระบุวัตถุประสงค์

??/??/???? 1 จัดประชุมและอบรมเชิงปฏิบัติการทีม SRRT ตำบลบุดี จำนวน 30 คน 3,150.00 -
??/??/???? 2.จัดประชุมและอบรมเชิงปฏิบัติการแก่ครูและนักเรียนจำนวน 4 โรงเรียน จำนวน 4ครั้งๆละ 30 คน 4,200.00 -
??/??/???? 3.จ้างเหมาพ่นหมอกควันในโรงเรียน และ ชุมชนบริเวณโรงเรียน 35,290.20 -

หมายเหตุ : งบประมาณ และ ค่าใช้จ่าย รวมทุกวัตถุประสงค์อาจจะไม่เท่ากับงบประมาณรวมได้

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.สามารถลดอัตราการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกให้เหลือไม่เกิน 80 ต่อประชากรแสนคน 2.ให้ประชาชนในชุมชนมีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับโรคไข้เลือดออกและมีพฤติกรรมที่ถูกต้อง เหมาะสมการป้องกันไม่ให้เกิดโรคไข้เลือดออก 3.ลดแหล่งเพาะพันธ์น้ำยุงลายภายในบ้าน ชุมชนวัด มัสยิดและโรงเรียนให้น้อยลง

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 18 พ.ค. 2566 00:00 น.