กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการรณรงค์ป้องกันโรคที่เกิดในฤดูร้อน โรคลมร้อนหรือโรคลมแดด (heat stroke) ”
ตำบลกาลิซา อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส



หัวหน้าโครงการ
นายมะนาเซ มะหะมะ




ชื่อโครงการ โครงการรณรงค์ป้องกันโรคที่เกิดในฤดูร้อน โรคลมร้อนหรือโรคลมแดด (heat stroke)

ที่อยู่ ตำบลกาลิซา อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 66-L2502-2-10 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2566 ถึง 30 มิถุนายน 2566

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการรณรงค์ป้องกันโรคที่เกิดในฤดูร้อน โรคลมร้อนหรือโรคลมแดด (heat stroke) จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกาลิซา อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาลิซา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการรณรงค์ป้องกันโรคที่เกิดในฤดูร้อน โรคลมร้อนหรือโรคลมแดด (heat stroke)



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการรณรงค์ป้องกันโรคที่เกิดในฤดูร้อน โรคลมร้อนหรือโรคลมแดด (heat stroke) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกาลิซา อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 66-L2502-2-10 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2566 - 30 มิถุนายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 60,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาลิซา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันภาวะโลกร้อนได้ทวีความรุนแรงขึ้นเรื่อย ๆ ทำให้อุบัติการณ์ของการเจ็บป่วยจาก ความร้อนสูงขึ้น ในกรณีที่เกิดการเจ็บป่วยจากความร้อนขั้นรุนแรงกล่าวคือ โรคลมร้อน (Heat stroke)  จากการเฝ้าระวังของกรมควบคุมโรค โดยข้อมูลจากระบบคลังข้อมูลด้านการแพทย์ Health Data Center (HDC) ระดับจังหวัด, ระดับเขต และระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข พบว่าระหว่างปี 2560 - 2564  พบผู้ป่วยโรคฮีทสโตรก จำนวน 114, 88, 126, 129, 94 ราย ตามลำดับ โดยพบผู้ป่วยสูงสุดในปี 2563 ในช่วงเดือนมีนาคมถึงเดือนมิถุนายน ซึ่งเป็นช่วงฤดูร้อน และกลุ่มอายุที่พบผู้ป่วยมากที่สุด ได้แก่ อายุ 15-59 ปี อายุ 60 ปีขึ้นไป และอายุ 10-14 ปี อาชีพที่พบมากที่สุด คือ เกษตรกร คนงานรับจ้าง และนักเรียน/นักศึกษา ตามลำดับ พบมากที่สุดในเขตภาคเหนือ ภาคกลาง และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ตามลำดับ” ประเทศไทยจะมีอากาศร้อนจัดมากขึ้น อาจทำให้ร่างกายเกิดภาวะขาดน้ำและเสี่ยงต่อการเป็นโรคลมแดด หรือโรคฮีตสโตรก กลุ่มเสี่ยงคือ คนที่ออกกำลังกาย หรือทำงานในอากาศร้อนจัด ระบบระบายอากาศไม่ดี ใส่เสื้อผ้าหนาหรือกันระเหยของเหงื่อ ดื่มน้ำน้อย หญิงตั้งครรภ์ เด็ก ผู้สูงอายุ และผู้ที่เป็นโรคอ้วน โรคฮีตสโตรก เกิดจากการที่ร่างกายได้รับความร้อนมากเกินไป ไม่สามารถปรับอุณหภูมิได้ทัน ทำให้มีอุณหภูมิในร่างกายสูงกว่า 40 องศาเซลเซียส รวมถึงการขาดน้ำและเกลือแร่ร่วมด้วยเป็นเวลานาน สัญญาณสำคัญคือไม่มีเหงื่อออก ตัวร้อนจัดขึ้นเรื่อยๆ ต่างจากการเพลียแดดทั่วไปที่จะพบมีเหงื่อออกด้วย ผู้ที่เป็นฮีทสโตรกจะกระหายน้ำมาก อ่อนเพลีย เมื่อยล้า คลื่นไส้ อาเจียน ปวดศีรษะ ความดันต่ำ หน้ามืด หายใจเร็ว และอาจรุนแรงถึงขั้น เพ้อ ชัก ไม่รู้สึกตัว ตับและไตวาย หัวใจเต้นผิดจังหวะ ทำให้ช็อก หมดสติ และเสียชีวิต โรคลมร้อนหรือโรคลมแดด (heat stroke) เป็นความเจ็บป่วยที่เกิดจากความร้อนที่มีความรุนแรงมากที่สุด หลายประเทศทั่วโลก จึงให้ความสำคัญ โดยมีรายงานว่าทำให้้เกิดการเสียชีวิตได้ถึงร้อยละ 10-50 และผู้รอดชีวิตอาจมีความพิการทางระบบประสาทอย่างถาวรร้อยละ 7-20 โรคลมร้อนเป็นภาวะที่ อุณหภูมิแกนของร่างกายสูงเกิน 40 องศาเซลเซียส (104 องศาฟาเรนไฮต์) ร่วมกับความผิดปกติของ ระบบประสาทส่วนกลาง ทำให้มีอาการสับสน เพ้อ ชักเก็รง ซึมหรือหมดสติ และอาจส่งผลต่อการ ทำงานของร่างกายทุกระบบได้ซึ่งเป็นอันตรายถึงชีวิต จัดเป็นภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์ต้องได้รับการวินิจฉัยอย่างถูกต้องและรักษาทันที่ เพื่อให้ผู้ป่วยมีชีวิตรอดและสามารถฟื้นคืนสู่สภาพร่างกายที่ปกติได้     ดังนั้น อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญในการรณรงค์ป้องกันโรคที่เกิดในฤดูร้อน โรคลมร้อนหรือโรคลมแดด (heat stroke) ช่วงฤดูร้อน เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดกับประชาชนในพื้นที่ และให้ประชาชาชนในพื้นที่ได้รู้จักป้องกัน เตรียมรับมือปรับกับสภาพอากาศฤดูร้อนได้

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ประชาชนม มีความรู้ ความเข้าใจ วิธีป้องกันโรคที่เกิดในฤดูร้อน โรคลมร้อนหรือโรคลมแดด (heat stroke)
  2. เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดกับประชาชนในพื้นที่ และให้ประชาชาชนในพื้นที่ได้รู้จักป้องกัน เตรียมรับมือปรับกับสภาพอากาศฤดูร้อนได้

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1 ประชาชนได้รับความเข้าใจเกี่ยวกับการป้องกันและควบคุมโรคและสามารถนำไปใช้ชีวิตประจำวันได้
    2 ประชาชนมีสุขภาพอนามัยที่ดี และชุมชนเกิดความเข้มแข็งและร่วมในการป้องกันโรคและควบคุมปรับกับสภาพอากาศในฤดูร้อนได้


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อให้ประชาชนม มีความรู้ ความเข้าใจ วิธีป้องกันโรคที่เกิดในฤดูร้อน โรคลมร้อนหรือโรคลมแดด (heat stroke)
    ตัวชี้วัด : ประชาชนได้รับความเข้าใจเกี่ยวกับการป้องกันโรคที่เกิดในฤดูร้อน

     

    2 เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดกับประชาชนในพื้นที่ และให้ประชาชาชนในพื้นที่ได้รู้จักป้องกัน เตรียมรับมือปรับกับสภาพอากาศฤดูร้อนได้
    ตัวชี้วัด : ประชาชนมีสุขภาพอนามัยที่ดี และชุมชนเกิดความเข้มแข็งและร่วมในการป้องกันได้

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชาชนม มีความรู้ ความเข้าใจ วิธีป้องกันโรคที่เกิดในฤดูร้อน โรคลมร้อนหรือโรคลมแดด (heat stroke) (2) เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดกับประชาชนในพื้นที่ และให้ประชาชาชนในพื้นที่ได้รู้จักป้องกัน เตรียมรับมือปรับกับสภาพอากาศฤดูร้อนได้

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการรณรงค์ป้องกันโรคที่เกิดในฤดูร้อน โรคลมร้อนหรือโรคลมแดด (heat stroke) จังหวัด นราธิวาส

    รหัสโครงการ 66-L2502-2-10

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายมะนาเซ มะหะมะ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด