กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาตาล่วง


“ โครงการรณรงค์หนูน้อยปลอดภัย ใส่ใจสวมหมวกกันน็อค ”

ตำบลนาตาล่วง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นางสาวอุบลพันธุ์ นุ่นตา

ชื่อโครงการ โครงการรณรงค์หนูน้อยปลอดภัย ใส่ใจสวมหมวกกันน็อค

ที่อยู่ ตำบลนาตาล่วง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 66-L1491-03-03 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 23 พฤษภาคม 2566 ถึง 31 สิงหาคม 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการรณรงค์หนูน้อยปลอดภัย ใส่ใจสวมหมวกกันน็อค จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลนาตาล่วง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาตาล่วง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการรณรงค์หนูน้อยปลอดภัย ใส่ใจสวมหมวกกันน็อค



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการรณรงค์หนูน้อยปลอดภัย ใส่ใจสวมหมวกกันน็อค " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลนาตาล่วง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 66-L1491-03-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 23 พฤษภาคม 2566 - 31 สิงหาคม 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 25,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาตาล่วง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ตามพระราชบัญญัติกำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542 หมวด 2 การกำหนดอำนาจและหน้าที่ในการจัดระบบการบริการสาธารณะ มาตรา ที่ 16 ให้เทศบาล เมืองพัทยา และองค์การบริหารส่วนตำบลมีอำนาจหน้าที่ในการจัดระบบการบริหารสาธารณะเพื่อประโยชน์ของประชาชนในท้องถิ่นของตนเองดังนี้ (9) การจัดการศึกษา และตามมาตรฐานสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยแห่งชาติ 2562 ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มาตรฐานที่ 1 การบริหารจัดการสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย ตัวบ่งชี้ที่ 1.3 การบริหารจัดการสภาพแวดล้อมเพื่อความปลอดภัย ตัวบ่งชี้ย่อยที่ 1.3.6 ส่งเสริมให้เด็กปฐมวัยเดินทางอย่างปลอดภัย     ดังนั้น ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลนาตาล่วง จึงเห็นความสำคัญของการสร้างวินัยในการจราจร การสวมหมวกนิรภัย เพื่อลดความเสี่ยงที่จะได้รับบาดเจ็บที่ ศีรษะและ ลดอาการรุนแรงของอาการบาดเจ็บลงได้ การส่งเสริมให้ผู้ขับขี่ สวมหมวกนิรภัยมากขึ้น ในการเพิ่มความปลอดภัย บนท้องถนน และเป็นวิธีที่มีประสิทธิภาพที่สุดในการลดการเสียชีวิตและการบาดเจ็บที่ศีรษะอันเนื่องมาจากอุบัติเหตุ หากผู้ขับขี่รถจักรยานยนต์ที่ไม่สวมหมวกนิรภัยมีความเสี่ยงสูงที่จะได้รับบาดเจ็บที่ศีรษะหรือเสียชีวิตจากการบาดเจ็บประเภทนี้ นอกจากนี้ผู้ขับขี่ที่ไม่สวม หมวกนิรภัยยังเพิ่มภาระให้แก่โรงพยาบาลที่รับตัวเข้ารักษา เป็นภาระแก่บุคคล ครอบครัว (หรือผู้ดูแล) และสังคม หากต้องกลายเป็นคนพิการ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลนาตาล่วงจึงได้จัดทำโครงการรณรงค์หนูน้อยปลอดภัย ใส่ใจสวมหมวกกันน็อคขึ้น เพื่อส่งเสริมให้ผู้ปกครองมีความรู้ ความเข้าใจในการขับขี่ยานพาหนะให้มีความปลอดภัยบนท้องถนนโดยการสวมหมวกนิรภัย

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ด้านวินัยจราจร มีแนวคิด ทัศนคติ และวิสัยทัศน์ที่ดีในการสวมหมวกนิรภัย
  2. ผู้ปกครอง/เด็กปฐมวัยเข้าใจถึงประโยชน์ของการสวมหมวกนิรภัยในการขับขี่ยานพาหนะ
  3. ผู้ปกครองสามารถส่งต่อความรู้ด้านวินัยจราจรให้กับบุตรหลานในชุมชนได้

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรม “รณรงค์ป้องกันและลดอุบัติเหตุบนท้องถนน กวดขันวินัยจราจร”

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 42
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจถึงประโยชน์ของการสวมหมวกนิรภัยในการขับขี่ยานพาหนะให้มีความปลอดภัยบนท้องถนน
  2. ผู้เข้าร่วมโครงการมีแนวคิด ทัศนคติ และวิสัยทัศน์ที่ดีในการสวมหมวกนิรภัย
  3. ผู้เข้าร่วมโครงการ/เด็กปฐมวัยมีสุขนิสัยในการดูแลสุขภาพและเพิ่มปลอดภัยลดการเกิดอุบัติเหตุ
  4. ผู้เข้าร่วมโครงการ/ผู้ปกครองสามารถส่งต่อความรู้ด้านวินัยจราจรให้กับบุตรหลานในชุมชนได้

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ด้านวินัยจราจร มีแนวคิด ทัศนคติ และวิสัยทัศน์ที่ดีในการสวมหมวกนิรภัย
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ด้านวินัยจราจรเพิ่มขึ้น
1.00

 

2 ผู้ปกครอง/เด็กปฐมวัยเข้าใจถึงประโยชน์ของการสวมหมวกนิรภัยในการขับขี่ยานพาหนะ
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 นักเรียนสวมหมวกนิรภัยส่งเสริมความปลอดภัยบนท้องถนน
1.00

 

3 ผู้ปกครองสามารถส่งต่อความรู้ด้านวินัยจราจรให้กับบุตรหลานในชุมชนได้
ตัวชี้วัด : ผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจในวินัยจราจรและสามารถส่งต่อความรู้แก่บุตรหลานในชุมชนได้
1.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 42
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 42
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ด้านวินัยจราจร มีแนวคิด ทัศนคติ และวิสัยทัศน์ที่ดีในการสวมหมวกนิรภัย (2) ผู้ปกครอง/เด็กปฐมวัยเข้าใจถึงประโยชน์ของการสวมหมวกนิรภัยในการขับขี่ยานพาหนะ (3) ผู้ปกครองสามารถส่งต่อความรู้ด้านวินัยจราจรให้กับบุตรหลานในชุมชนได้

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรม “รณรงค์ป้องกันและลดอุบัติเหตุบนท้องถนน กวดขันวินัยจราจร”

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการรณรงค์หนูน้อยปลอดภัย ใส่ใจสวมหมวกกันน็อค จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 66-L1491-03-03

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวอุบลพันธุ์ นุ่นตา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด