กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลยุโป


“ โครงการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก ปี 2566 ”

ตำบลยุโป อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นางสาวพนิดา พัดคง

ชื่อโครงการ โครงการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก ปี 2566

ที่อยู่ ตำบลยุโป อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 66-l4139-2-16 เลขที่ข้อตกลง 16/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก ปี 2566 จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลยุโป อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลยุโป ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก ปี 2566



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก ปี 2566 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลยุโป อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 66-l4139-2-16 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2566 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 26,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลยุโป เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

งานเฝ้าระวัง สอบสวน และควบคุมโรค มีความสำคัญต่อระบบการป้องกันควบคุมโรคของประเทศ เขด ประจำหน่วยงานสาธารณสุขที่มีพื้นที่รับผิดชอบในด้านการป้องกัน ควบคุมโรคซึ่งในด้านสมรรณะบุคลากรเคยมีคำ และจังหวัด โดยฟีม SPRT (Sunellance and Rapid Response Team) เป็นในสำระวังeบสาunteบทีf) กล่าวว่า "เจ้าหน้าที่สาธารณสุขทุกคนต้องใช้ระบาดวิทยาในการปฏิบัติงาน"แต่ในด้านสมรรถะขององค์กร อาจ *หน่วยงานที่มีหน้าที่ป้องกันควบคุมโรคและภัยทุกหน่วยงาน กล่าวได้ว่า ต้องมีทีมเฝ้าระวังสอบสวนเคลือนที่เร็ว (Surveillance and Rapid Response Team หรือSRRT)" เนื่องจาก ปัญหาภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข( emergency) ที่มากขึ้นทั้งในต้านความถี่ ขนาด Health รวมถึงขีดความสามารถในการ (Public แพร่กระจายปัญหาไปยังพื้นที่อื่น ๆ ทุกพื้นที่ซึ่:จำเป็นต้องมีทีมงานรับผิดชอบในการฝ้ระวังปัญหา และความรุนแรง ตอบสนองต่อปัญหาได้อย่างรวดเร็วมีประสิทริภาห หน่วยงานที่รับผิดชอบพื้นที่ได้แก่ หน่วยงานสาธารณสุขทุกระดับ และสามารถ และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โดยหากพื้นที่ใดที่มีทีม SRRT ไม่เข้มแข็งจะเป็นจุดอ่อนของการป้องกันควบคุมโรค และอาจเป็นต้นเหตุที่ทำให้โรคทวีความรุนแรงขึ้นได้ เป็นที่ทราบกันดีว่า การระบาดของโรคมักเริ่มต้นในพื้นที่เล็ก ในชุมชนของตำบลใดตำบลหนึ่ง เจ้าหน้าที่สาธารณสุขผู้ที่อยู่ใกล้ชิดกับเหตุการณ์ที่สุดในพื้นที่ ควรได้รับทราบข่าวอย่างรวดเร็วเพื่อประโยชน์ในการ ควบคุมโรคเบื้องตันที่ทันเวลา แต่ปัจจุบันการคมนาคมสะดวกสบายมากขึ้น โรงพยาบาลจังหวัด โรงพยาบาลอำเภอ โดยไม่ผ่านสถานีอนามัยหรือ รห.สต. บางครั้งเจ้าหน้าที่ในพื้นที่ทราบข่าวการ ผู้ป่วยบางรายเดินทางไปรักษาใน เจ็บป่วยของคนในชุมชนจากการแจ้งกลับของโรงหยาบาลที่ไปรักษา บางครั้งทราบจากสื่อสิ่งพิมพ์ วิทยุ โทรทัศน์ ไม่มีการจัดการที่เป็นระบบหากเจ้าหน้าที่สาธารณสุขในพื้นที่ด้รับข้อมูลล่าช้าจะส่งผลให้โรคติดเชื้อที่มีความสามารถ ในการแพรโรคได้เร็วระบาดในวงกว้างต่อไปใด้ ส่งผลให้การควบคุมโรคทำได้ยากยิ่งขึ้น ฉะนั้น การพัฒนา S เครือข่ายระดับตำบล จะเป็นกลกสำคัญเพื่อร้องรับภารกิจหลักของรพ.สต. ด้านการป้องกันควบคุมโรค และสอดรับ กับนโยบายอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน เพื่อให้การคำเนินงานควบคุมป้องกันโรคในระดับอำเภอและตำบสมิ ประสิทธิภาพมากขึ้นเนื่องจากเครือข่ายระดับตำบล กระจายอยู่ทุกพื้นที่ทั่วประเทศ จึงดำเนินการพัฒนาเครือข่าย โดยผ่านทีม SRRT ที่ใด้จัดตั้งไว้แล้ว คือ ทีมระดับอำเภอ จังหวัด เขต และส่วนกลาง ซึ่งสมาชิกทีมได้รับการพัฒนา มีศักยภาพในการฝ้าระวังสอบสวนโรคภัยให้ได้มาตรฐาน รวมทั้งสามารถตอบสนองภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขได้ อย่างมีประสิทธิภาพ การกำหนดกลุ่มเป้าหมายสำหรับ SRRT เครือช่ายระดับตำบล หากจะหัฒนาแต่เจ้าหน้าที่ สาธารณสุขในแต่ละคำบลจำนวนไม่กี่คน งานป้องกันควบคุมโรคในชุมชนคงยากที่จะประสบความสำเร็จเป็นอย่างดี จากสภาหปัญหาดังกล่ว ทางชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ร่วมกับโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ตำบลยุโป ได้จัดทำโครงการควบคุมและป้องกันโรคข้เลือดออก ปี 2566 ขึ้น เพื่อให้เกิดความร่วมมือ ร่วมใจ เครือข่ายกับภาคประชาชน ได้แก่ อาสาสมัครสาธารณสุขผู้นำชุมชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและหน่วยงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง ร่วมกันในการแก้ไขปัญหาไข้เลือดออกในพื้นที่

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1-เพื่อพัฒนาความรู้และทักษะในการค้นหาเหตุการณ์ผอดปกติ ควบคุมโรคเบื้องต้นให้กับเครือข่ายทีมเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว (SRRT) และขับเคลื่อนศักยภาพทีมเฝ้าระวังสอบสวน ป้องกัน ควบคุมโรคระดับตำบลให้มีความเข้มแข็ง
  2. 2-เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกไม่เกิน 80 ต่อแสนประชากร

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1 อัตราป่วยใช้เลือดออกลดลง 2 ไม่เกิดการระบาดช้ำในชุมชน 3 ค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน 4 มีทีมควบคุมโรคทุกหมู่บ้าน


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1-เพื่อพัฒนาความรู้และทักษะในการค้นหาเหตุการณ์ผอดปกติ ควบคุมโรคเบื้องต้นให้กับเครือข่ายทีมเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว (SRRT) และขับเคลื่อนศักยภาพทีมเฝ้าระวังสอบสวน ป้องกัน ควบคุมโรคระดับตำบลให้มีความเข้มแข็ง
    ตัวชี้วัด : 1-ทีมเคลื่อนที่เร็ว สามารถแจ้งเหตุ และเฝ้าระวังโรค เหตุการณ์ผิดปกติ ควบคุมโรคเบื้องต้น ให้กับ ใน หมู่บ้านได้ทันที เครือข่ายทีมเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว 2-ทีมเคลื่อนที่เร็วสามารถ ป้องกันและควบคุมโรคไดอย่างมีประสิทธิภาทและสามารถควบคุมโรคไม่ให้ สอบสวน ป้องกัน ควบคุมโรค ระดับตำบลให้มี เกิดการระบาดของโรคได้ ความเข้มแข็ง

     

    2 2-เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกไม่เกิน 80 ต่อแสนประชากร
    ตัวชี้วัด : 1-ผู้ป่วยไข้เลือดออกลดลงจากค่ามัธยฐานย้อนหลัง 5 ปี 2-ไม่เกิดการระบาดซ้ำในหมู่บ้าน

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1-เพื่อพัฒนาความรู้และทักษะในการค้นหาเหตุการณ์ผอดปกติ ควบคุมโรคเบื้องต้นให้กับเครือข่ายทีมเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว (SRRT) และขับเคลื่อนศักยภาพทีมเฝ้าระวังสอบสวน ป้องกัน ควบคุมโรคระดับตำบลให้มีความเข้มแข็ง (2) 2-เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกไม่เกิน 80 ต่อแสนประชากร

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก ปี 2566 จังหวัด ยะลา

    รหัสโครงการ 66-l4139-2-16

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสาวพนิดา พัดคง )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด