กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนรู


“ กิจกรรมส่งเสริมในการป้องกันและแก้ไขปัญหาสาธารณสุขในกรณีเกิดโรคระบาดหรือภัยพิบัติในพื้นที่ ”

ตำบลควนรู อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ

ชื่อโครงการ กิจกรรมส่งเสริมในการป้องกันและแก้ไขปัญหาสาธารณสุขในกรณีเกิดโรคระบาดหรือภัยพิบัติในพื้นที่

ที่อยู่ ตำบลควนรู อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2022 ถึง 30 กันยายน 2023


กิตติกรรมประกาศ

"กิจกรรมส่งเสริมในการป้องกันและแก้ไขปัญหาสาธารณสุขในกรณีเกิดโรคระบาดหรือภัยพิบัติในพื้นที่ จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลควนรู อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนรู ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
กิจกรรมส่งเสริมในการป้องกันและแก้ไขปัญหาสาธารณสุขในกรณีเกิดโรคระบาดหรือภัยพิบัติในพื้นที่



บทคัดย่อ

โครงการ " กิจกรรมส่งเสริมในการป้องกันและแก้ไขปัญหาสาธารณสุขในกรณีเกิดโรคระบาดหรือภัยพิบัติในพื้นที่ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลควนรู อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2022 - 30 กันยายน 2023 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 200,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนรู เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จังหวัดสงขลายังมีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคไข้เลือดออก เนื่องจากมีฝนตกทำให้เกิดแหล่งน้ำขังบริเวณบ้าน ทำให้มีแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายเพิ่มขึ้น หากประชาชนไม่ได้มีการกำจัดลูกน้ำและปฏิบัติตามมาตรการป้องกันอย่างต่อเนื่อง อาจจะทำให้โรคไข้เลือดออกมีโอกาสแพร่ระบาดเพิ่มขึ้นได้ นพ.สงกรานต์ ไหมชุม นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดสงขลา ได้กล่าวว่า ในระยะนี้ ขอให้ประชาชนเฝ้าระวังป้องกันโรคไข้เลือดออกอย่างต่อเนื่อง เนื่องจากจังหวัดสงขลายังมีปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคไข้เลือดออกทั้งสภาพภูมิอากาศที่มีฝนตกทำให้เกิดแหล่งน้ำขังอยู่ทั่วไปบริเวณบ้านเรือนเพิ่มขึ้น และสภาพอากาศค่อนข้างร้อนชื้น เอื้ออำนวย ต่อการเจริญเติบโตของเชื้อไวรัสโรคไข้เลือดออก ทำให้ลูกน้ำยุงลายมีปริมาณมากและเจริญเติบโตได้ดี ประกอบกับยังมีรายงานพบผู้ป่วยกระจายอยู่ในหลายพื้นที่ จึงอาจจะทำให้ยุงตัวเต็มวัยที่มีปริมาณเพิ่มขึ้นนั้น เป็นพาหะนำเชื้อโรคไข้เลือดออกจากผู้ป่วยไปสู่คนปกติได้มากขึ้น สำหรับสถานการณ์โรคไข้เลือดออกของ จ.สงขลา (ตั้งแต่ 1 มค – 15 พค 2566) ได้รับรายงานผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก จำนวนทั้งสิ้น 1,035 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 72.30 ต่อประชากรแสนคน มีรายงานผู้เสียชีวิต 2 ราย อัตราตายต่อประชากรแสนคน เท่ากับ 0.14 อัตราผู้ป่วยตายเท่ากับร้อยละ 0.19 กลุ่มอายุที่พบสูงสุดคือกลุ่มอายุ 5 - 9 ปี คิดเป็นอัตราป่วย 291.84
ต่อประชากรแสนคน รองลงมาคือ กลุ่มอายุ 10 - 14 ปี, 0 – 4 (ข้อมูล ณ วันที่ 19 พฤษภาคม 2566)     ในการนี้ งานบริหารงานสาธารณสุข สำนักปลัด องค์การบริหารส่วนตำบลควนรู ได้ตระหนักถึงอัตรายของการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออก ซึ่งตำบลควนรูมีผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก ตั้งแต่เดือน มิ.ย.66 - ก.ย.66 จำนวนทั้งสิ้น 10 ราย และมีแนวโน้ม ที่จะเพิ่มสูงขึ้น จึงขอเสนอโครงการแก้ไขปัญหาโรคไข้เลือดออกระบาด ประจำปีงบประมาณ 2566 เพื่อเป็นการยับยั้งการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ตำบลควนรูได้ทันท่วงที โดยอาศัยอำนาจพระราชบัญญัติองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ.2537 และที่แก้ไขเพิ่มเติม มาตรา67 (3) องค์การบริหารส่วนตำบล มีอำนาจหน้าที่ในการป้องกัน ประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ (ฉบับที่ 3) เพื่อเป็นการแก้ไขปัญหาโรคไข้เลือดออกระบาดในพื้นที่ตำบลควนรูอย่างมีประสิทธิภาพอย่างต่อเนื่องต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. แก้ไขปัญหาโรคไข้เลือดออกระบาด
  2. แก้ไขปัญหาโรคไข้เลือดออกระบาด

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

สามารถป้องกันและแก้ไขปัญหาจากโรคระบาดหรือภัยพิบัติอย่างรวดเร็วทันต่อเหตุการณ์


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) แก้ไขปัญหาโรคไข้เลือดออกระบาด (2) แก้ไขปัญหาโรคไข้เลือดออกระบาด

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


กิจกรรมส่งเสริมในการป้องกันและแก้ไขปัญหาสาธารณสุขในกรณีเกิดโรคระบาดหรือภัยพิบัติในพื้นที่ จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด