กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการค้นหาผู้ป่วยวัณโรคในชุมชน
รหัสโครงการ 66-L4139-2-20
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ชมรมอาสาสมัคสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน
วันที่อนุมัติ 3 มีนาคม 2566
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 พฤษภาคม 2566 - 30 กันยายน 2566
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 6,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางเกศินี ไชยหมาน
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลยุโป อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา
ละติจูด-ลองจิจูด 6.597,101.283place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

วััณโรค (Tuberculosis:TB) เป็นโรคติดต่อที่กำลังเป็นปัญหาสำคัญด้านสาธารณสุข เป็นสาเหตุของการ ป่วย และการเสียชีวิตในหลายๆประเทศทั่วโลก กทั้งปัจจุบันการแพร่ระบาดของโรคเอดส์ทำให้ปัญหา วัณโรค มีความรุนแรงเพิ่มขึ้น วัณโรคจึงนับเป็นปัญหาที่ท้าทายต่อวงการสาธารณสุขของประเทศต่าง (กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข,2548) วัณโรคเป็นปัญหาสาธารณสุขระดับโลกมาเป็นระยะเวลานาน ปัจจุบันทั่วโลกยังมี ผู้ป่วยและเสียชีวิตจากวัณโรคเป็นจำนวนมาก จึงมีความจำเป็นเร่งด่วนที่จะต้องหยุดยั้ง เนื่องจากมีผลกระพบต่อ ความสูญเสียต่อภาวะสังคม เศรษฐกิจ สำหรับประเทศไทยสาเหตุสำคัญที่ทำให้จำนวนผู้ป่วยวัณโรคไม่ลดลงเพราะ ความยากจน แรงงานเคลื่อนย้าย แรงงานต่างชาติ สิ่งแวดล้อมที่แออัด ที่เอื้อต่อการแพร่กระจายเชื้อวัณโรค และ ผลกระทบจากการระบาดของโรคเอดส์ในช่วงหลายปีที่ผ่านมา ทำให้ผู้ป่วยวัณโรคมีจำนวนเพิ่มขึ้น อัตราการตายสูง และมีปัญหาเชื้อดื้อยาวัณรคเพิ่มขึ้น องค์การอนมัยโลก ได้จัดให้ประเทศไทยเป็น 1 ใน 22 ประเทศที่มีปัญหา รุนแรง (High TB burdencountries) และคาดว่าสถานการณ์วัณโรคของประเทศไทย น่าจะมีผู้ป่วยวัณ ทุกชนิดทั้งรายเก่าและรายใหม่ (Prevalence) ประมาณ 110,000 ราย หรือ 161 ต่อแสนประซากร ในขณะเดียวกัน มีผู้ป่วยรายใหม่ (Incidence ) เกิดขึ้นประมาณ 98,000 รายต่อปี หรือ 124 ต่อแสนประชากร และอัตราการตาย (Mortality) 14 ต่อแสนประซากรหรือประมาณ 9,800 ราย(กรมกรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข,2545) สอดคล้องกับจำนวนผู้ป่วยในตำบลยุโป มีจำนวนเพิ่มขึ้นทุกปี โดยปี 2562 - 2564 มีจำนวนผู้ป่วย 10 คน ส่วน การดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรควัณโรคของตำบลยุโป ที่ผ่านมาพบว่าผู้ป่วยเข้ารับการรักษาข้าทำให้มีโอกาสใน การแพร่เชื้อในชุมชนได้นาน การคันหาผู้ป่วยยังไม่ครอบคลุม ผู้ป่วยยังขาดความรู้และการติดตามอย่างต่อเนื่อง จึงทำ ให้ผู้ป่วยทานยาไม่ครบกำหนด ส่งผลทำให้การรักษาผู้ป่วยวัณโรคเกิดการดื้อยา สอดคล้องกับองค์การอนามัยโลก รายงานว่ามีผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ปีละ 9 ล้านราย แต่เข้าถึงการรักษาเพียง 6 ล้านราย ดังนั้น เพื่อให้การป้องกันและควบคุมโรคมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลต่อประชาชนและผู้ป่วยใน ตำบลยุโป ทางชมรมสาธารณสุขประจำหมู่บ้านตำบลยุโป ร่วมกับ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลยุโป จึงได้ทำ โครงการค้นหาผู้ป่วยวัณโรคในชุมชน เพื่อคัดกรองหากลุ่มเสี่ยงที่มีโอกาสเกิดโรควัณโรคในชุมชน อันจะเป็นแนวทาง ในการป้องกันและควบคุมโรค และเร่งสร้างความรู้เพื่อเป็นเกราะป้องกันสุขภาพของคนในชุมชนให้ห่างไกลจาก วัณโรค

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1-เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ในการป้องกันโรควัณโรคได้

อสม.มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับวัณโรคและสามารถเก็บเสมหะได้อย่างถูกต้อง

2 2-เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรควัณโรคในกลุ่มเสี่ยงและผู้สัมผัสร่วมบ้าน

1-ผู้สัมผัสร่วมบ้านได้รับการตรวจคัดกรองวัณโรคทุกคน 2-ผู้ป่วยวัณโรคได้รับการรักษาและกินยาอย่างต่อเนื่อง

stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
  1. จัดประชุมเชิงปฏิบัติการ ชี้แจงคณ ะทำงาน เพื่อจัดตั้งซึมทำงานเฉพาะ 2 จัดทำคู่มือทางวิชาการและการปฏิปัติงานในการหันหาผู้ป่วยวัณโรค
  2. สนับสนุนการปฏิบัติงานของเครือข่าย
  3. ตันหาผู้สัมผัสผู้ป่วยวัณโรค และเก็บเสมทะส่งตรวจ 5.นิเทศติตตาม ประเมินผลงาน
stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ค้นหาผู้สัมผัสผู้ป่วยวัณโรคได้ทุกคน 2 สามารถนำผู้ป่วยไปรับการรักษาที่ถูกต้อง ผู้ปวยวัณโรคได้รับการรักษาและกินยาอย่างต่อเนื่อง 4 ผู้ป้วยวัณโรคได้รับการตรวจเยี่ยมจากเจ้าหน้าที่และ

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 22 พ.ค. 2566 13:48 น.