กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการมหกรรมหญิงไทยดูแล ใส่ใจเรื่องมะเร็งเต้านม มะเร็งปากมดลูก ปี 2566
รหัสโครงการ 66-L4139-2-21
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ อาสาสมัคสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน
วันที่อนุมัติ 3 มีนาคม 2566
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 พฤษภาคม 2566 - 30 กันยายน 2566
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 33,600.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางเกศินี ไชยหมาน
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลยุโป อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา
ละติจูด-ลองจิจูด 6.597,101.283place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

มะเร็งปากมคลูกเป็นปัญทาทางสาธาร รณสุขที่สำคัญของประเ ะเทศไทยโ ย โดยพบเป็นอันตับ 2 ของมะเร็งใน ตตรี่ไทย รองจากมะเร็งเต้านม จากรายงานของ WHONCO Inform mation Centre on HPV and Cervical Cancer , Summary Repor (HPV iInformation Centre), Human P alomawirus and Related Cancers in Thaiand, 2010 ได้รายงานในปี พ.ศ.255! ประเทศไทยมีประชากรสตรีที่เสี่ยงต่อมะเร็งปากมดลูก 26.09 ล้านคน มีอายุตั้งแต่ เ5 ปี ขึ้นไป มีจำนวนผู้ป่วยมะเร็ปากมตลูกรายใหม่ปีละ 9,999 ราย เสียชีวิต 5,216 ราย หรือประมาณร้อยละ 53 ถ้าคิดเป็นวันแล้วจะมีสตวีไทยเสียชีวิตจากมะเร็งปากมดลูกเ ในปัจจุบันโรคมะเร็งปากมลูกแลมะเร็งเต้านมเป็นสาเหตุการตายจากโรคมะเร็งของสตรีในประเทศ กเฉลียวันละ 14 คน ไทย ซึ่งทำให้เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญโดยเพาะโรคมะเร็งปากมดลูกเป็นมะเร็งที่พบมากเป็นยันตับหนึ่งของ มะเร็งในสตรี พบได้ถึง 3 คน ในประชากรหนึ่งแสนคน ประมาณ 5,500 ราย ส่วนใหญ่มีอายุประมาณ 30 - 50 ปี ซึ่งที่ผ่านมาใช้วิธีการตรวจมะเร็งปากมดลูกด้วยการ ในแต่ละปีมีผู้ป่วยด้วยโรคมะเร็งปากมดลูกเสียชีวิต ตรวจ Pap 5mear และหากทำทุก 2 ปี สามารถลคการเป็นมะเร็งระยะลุกลามได้ 92 % ตรวจเพื่อค้นหามะเร็งปากมดลูก ะง่ย สะดวก ราคาถูก ถึงแม้กระบวนการ ทัศนคติที่ไม่ดีต่อการตรวจ Pap Smear ส่วนโรคมะเร็งเต้านม ผู้ปัวยมักไม่มีอาการผิดปกติในระยะเริ่มต้น ดังนั้น แต่ยังพบว่าสตรีจำนวนมากไม่เห็นความสำคัญ จึงมีความจ้าเป็นและสำคัญที่ต้องทำการตรวจค้นหามะเร็งเต้านมใน ระยะเริ่มต้น การรักษามะเร็งเต้านมในปัจจุบันมี และการรักษาอาจ ความก้าวหน้าไปมาก การคันพบมะเร็งต้านมในระยะเริ่มต้นสามารถรักษาให้หายขาดได้ ทำได้โดยการตัดเฉพาะก้อนมะเร็งออกไม่จำเป็นต้องผ่าตัดทั้งเต้านม ในทางตรงกันข้ามหากไม่มีการตรวจคันหามะเร็ง ต้านม รอจนกระทั่งมีอาการผิปกติ มะเร็งอาจแพร่กระจายไปยังอวัยวะอื่น ๆ แล้ว และไม่สามารถรักษาให้หายชาด ได้ สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ได้เห็นความสำคัญของปัญหาจึงให้การสนับสนุนงบประมาณการ ดำเนินงานโครงการคัดกรองมะเร็งปากมดลูกแก่กระทรวงสารารณสุข โดยมอบให้สถาบันมะเร็งแห่งชาติ แพทย์ ดำเนินโครงการคัดกรองมะเร็งปากมดลูกด้วยวิธี Pap smear และ VA ในสตรีไทยอายุ 30-60 ปี กรมการ กำหนดเกณฑ์ตัวชี้วัด รัอยละของสตรี 30-60 ปี ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกสะสม ปีงบประมาณ 2566 ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2563- สถานการณ์ การตรวจคัดกรองมะเร็งปากมถูกในสตรีกลุ่มเป้าหมายอายุ 30 - 60 ในเขตพื้นที่รับผิดชอบ รงหยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลยุโป อำภอเมือง จังหวัดยะลา พบว่ากลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็ง กมตลูก ปี 2563 ร้อยละ 19.50 ปี 2564 สะสมร้อยล 36 45 และ ปี 2565 สะสมร้อยละ 55.75 จากข้อมูล งกล่าวจะเห็นว่า กลุ่มคัดกรองมะเร็งปากมดลูกที่ยังไม่เข้ารับการตรวจฯจะเป็นกลุ่มที่ยากต่อการติดตามเข้ารับบริการ ละการตรวจคัดกรองมะเร็งต้านมด้วยตนเองที่ไม่พบความผิดปกติ อาจเกิดจาก การครวจที่ไม่ถูกต้อง เทคนิคหรือ ผนกรตรวจคัตกรองที่มีความชับซ้อนไม่เข้าใจ พร้อมทั้งกลุ่มเป้าหมาย และ อสม. ยังขาดความรู้ความเข้าใจในเรื่อง คมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเด้านม ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลยุโปจึงได้จัดทำโครงการมทกรรม มิงไหยดูแลอาใจใส่รื่องมะเร็งเต้านม และมะเร็งปากมลูก เพื่อใช้เป็นแนวทางในการสร้างเสริมพฤติกรรมการ งกันโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมแบบยั่งยืนต่อไป

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1-เพื่อให้หญิงวัยเจริญพันธ์มีความรู้และมีทักษะในการตรวจกรองมะเร็งเต้านมด้วยตนเองอย่างถูกต้อง

หญิงวัยเจริญพันธ์มีความรู้และมีทักษะในการตรวจมะเร็งเต้านม

2 2-เพื่อให้ประชากรกลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมตามมาตรฐานอย่างมีคุณภาพ

สตรีอายุ 30-60 ปีได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก

stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม

1.จัดทำทะเบียนรายชื่อสตรีกลุ่มเป้าหมา มายกลุ่มเป้าหมายอายุ ๑๐-๖o ปี 2.จัดอบรมให้ความรู้เรื่องโรคมะเร็งปากมดถูก กและมะเร็งเต้านมแก่หญิงวัยเจริญพันธ์ - ให้ความรู้เรื่องโรคมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก - สอนทักษะการตรวจเต้านมด้วยตนเอง 3. ประชาสัมพันธ์ให้ความรู้ผ่านสื่อต่างๆ เช่น หอกระจายร่าว ปัายประชาสัมพันธ์ 4. จัดคลินิกให้นริการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก 5. แจ้งผลการตรวจมะเร็งปากมคลูกและมะเร็งเต้านมแก่ผู้รับบริการ 6. คิดตามและส่งต่อ กลุ่มเป้าหมายที่ตรวจคัดกรอง พบมีความผิดปกติเพื่อเข้ารับการตรวจวินิจอัย

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.สตรีกลุ่มเป้าหมายมีความรู้และใส่ใจในการดูแสสุขภาพตนเอง ครอบครัว โดยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพได้อย่างเหมาะสม และชุมชน สามารถจัดการสุขภาพตนเอง 2. สตรีอายุ 30 - 60 ปี ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งต้านมและมะเร็งปากมลูกเพื่อคันหาCelผิดปกติของปากมดลูก 3.สตรีที่ตรวจพบเป็นมะเร็งปากมตลูกและมะเร็งเต้านมได้รับการรักษาและติดตามเยี่ยมทุกราย

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 22 พ.ค. 2566 13:58 น.