กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลยุโป


“ โครงการส่งเสริมการใช้ยาสมุนไพรในชุมชน ปี 2566 ”

ตำบลยุโป อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นางเกศินี ไชยหมาน

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมการใช้ยาสมุนไพรในชุมชน ปี 2566

ที่อยู่ ตำบลยุโป อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 66-L4139-2-22 เลขที่ข้อตกลง 22/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมการใช้ยาสมุนไพรในชุมชน ปี 2566 จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลยุโป อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลยุโป ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมการใช้ยาสมุนไพรในชุมชน ปี 2566



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมการใช้ยาสมุนไพรในชุมชน ปี 2566 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลยุโป อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 66-L4139-2-22 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2566 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 9,600.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลยุโป เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันสมุนไพรไทย ถูกนำมาแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์สำเร็จรูปสะดวกใช้หลากหลายประเภทตามแต่ คุณ ตั้งแต่ใช้เป็นยาประจำบ้านเป็นอาหาร อาหรเสม เครื่องดื่มบำรุงสุขภาพ รวมทั้งเป็น ละเป็นผลิตภัณฑ์เพื่อความงาม นำมาขัด พอก บำรุงรักษาผิวพรรณเป็นต้น ประกอบกับกร ลังมาแรง จึงเป็นที่นิยมอย่างแพร่หลายโดยเฉพาะอย่างยิ่งการนำไปใช้ในกิจการสปา เ สร้างอาชีพ สร้างรายได้ให้ประเทศละไม่น้อยและนับวันยิ่งทวีความต้องการมากขึ้น นอกจากใช้งานผลิตภัณฑ์เพื่อความงาม บำรุงรักษาสุขภาพแล้ว ผลิตภัณฑ์อีกประเภทหนึ่งที่กำ ให้กับชุมชนและเป็นความต้องการของต่างประเทศ ได้แก่ ลูกประคบสมุนไพร ซึ่งมีสรรพคุณช่ว อาการปวดเมื่อย ลดอาการปวดบวม อักเสบ และการเกร็งของกล้ามเนื้อ กระตุ้นการไหลเวียนของโลหิตได้เป็นอย่าง ดี บรรเทาอาการหวัด รักษาเม็ดผดผื่นคัน ฯลฯ ภูมิปัญญาด้านพืชสมุนไพรเป็นสิ่งที่อยู่คู่คนไทยมานับพันปี เนื่องจากอดีตกาลคนไทยเมื่อเกิดการ เจ็บปวยขึ้นจะมีการนำสมุนไพรมาใช้ในการรักษาเบื้องต้นหรือรักษาพยาบาลกับหมอพื้นบ้านในหมู่บ้านตนเอง เพื่อ บรรเทาอาการเจ็บป่วยโดยอาศัยภูมิปัญญาที่สืบทอดกันมาหลายอายุชั่วคน แตาเมื่อการแพทย์แผนปัจจุบันเริ่มเข้ามา มีบทบาทในบ้านเรา ภูมิปัญญาความรู้ด้านการใช้ยาสมุนไพรจึงถูกลดความสำคัญลง และทำให้เยาวชนรุ่นหลังรู้จัก สมุนไพรไทยน้อยมาก และแพทย์ไม่รู้เลยทั้งๆที่สมุนไพรเหล่านั้นอยู่ใกล้ตัวเรานี้เอง และในบางครั้งก็มีการนำสมุนไพร มาใช้อย่างถูกวิธี ผิดโรค ทำให้ไม่เห็นผลการรักษาที่ดีขึ้นจึงเลิกใช้ยาสมุนไพรไป แต่ในปัจจุบันการแพทย์แผนไทย ได้แก่ การนวด การอบ ประคบสมุนไพร การแปรรูปสมุนไพรมาเป็นผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพ และยารักษาโรค การปลูก สมุนไพรเพื่อนำมาใช้เอง การใช้ยาสมุนไพรแทนยาแผนปัจจุบันจากการดำเนินงานแพทย์แผนไทยของโรงพยาบาล ส่งเสริมสุขภาพตำบลยุโป ปี 2565 พบว่ามีบริการผู้ป่วยนอก จำนวน 5,476 ครั้ง บริการแพทย์แผนไทย จำนวน 2,492 ครั้ง คิดเป็นร้อยละ 44.50 ปี 2566 พบว่ามีบริการผู้ป่วยนอก จำนวน 3,728 ครั้ง บริการแพทย์แผนไทย จำนวน 1,263 ครั้ง คิดเป็นร้อยละ 33.88 จากข้อมูลดังกล่าว ชมรม อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ร่วมกับ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ตำบลยุโป ได้เห็นถึงความสำคัญในการส่งเสริมการใช้ยาสมุนไพรในชุมชน เพื่อลดการใช้ยาบางอย่าง เช่น ยาลตการ อักเสบ กล้ามเนื้อและข้อฯลฯ และเป็นการส่งเสริมให้ประชาชนรู้จักการปลูกพืชสมุนไพรใช้ครัวเรือน จึงได้จัดทำ โครงการส่งเสริมการใช้ยาสมุนไพรในชุมชน ปี 2566 ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1-เพื่อให้ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสมุนไพรพื้นบ้า่นและมีการใช้พืชสมุนไพรในการรักษาอาการเจ็บป่วยเบื้งต้น
  2. 2-เพื่อสร้างทัศนคติและปลูกฝั่งจิตสำนึกที่ดีในการนำสมุนไพรในชุมชนมาใช้ประโยชน์

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. ประชาชนสามารถดูแลตนเองและครอบครัวด้วยยาสมุนไพรเมื่อเจ็บป่วยได้ถูกต้องและปลอดภัย
    2. ประชาชนสามารถผลิต ผลิตภัณฑ์จากสมุนไพรใช้เองและจำหน่ายในชุมชนได้

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1-เพื่อให้ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสมุนไพรพื้นบ้า่นและมีการใช้พืชสมุนไพรในการรักษาอาการเจ็บป่วยเบื้งต้น
    ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับยาสมุนไพรและใช้ยาสมุนไพรแทนการใช้ยาแผนปัจจุบันรักษาอาการเบื้องต้นอย่างน้อยร้อยละ 35

     

    2 2-เพื่อสร้างทัศนคติและปลูกฝั่งจิตสำนึกที่ดีในการนำสมุนไพรในชุมชนมาใช้ประโยชน์
    ตัวชี้วัด : ประชาชนให้ความสนใจและนำสมุนไพรในชุมชนมาใช้ประโยชน์ทั้งทางตรงและทางอ้อม

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1-เพื่อให้ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสมุนไพรพื้นบ้า่นและมีการใช้พืชสมุนไพรในการรักษาอาการเจ็บป่วยเบื้งต้น (2) 2-เพื่อสร้างทัศนคติและปลูกฝั่งจิตสำนึกที่ดีในการนำสมุนไพรในชุมชนมาใช้ประโยชน์

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการส่งเสริมการใช้ยาสมุนไพรในชุมชน ปี 2566 จังหวัด ยะลา

    รหัสโครงการ 66-L4139-2-22

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางเกศินี ไชยหมาน )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด