กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบล อบต.บาโงสะโต


“ โครงการส่งเสริมสุขภาพเพื่อจัดการโรคเรื้อรัง ประจำปี 2566 ”

ตำบลบาโงสะโต อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นายมูคลิศ ยะยอ

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพเพื่อจัดการโรคเรื้อรัง ประจำปี 2566

ที่อยู่ ตำบลบาโงสะโต อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 66-L8423-1-05 เลขที่ข้อตกลง 14/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2566 ถึง 31 พฤษภาคม 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมสุขภาพเพื่อจัดการโรคเรื้อรัง ประจำปี 2566 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบาโงสะโต อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบล อบต.บาโงสะโต ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพเพื่อจัดการโรคเรื้อรัง ประจำปี 2566



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพเพื่อจัดการโรคเรื้อรัง ประจำปี 2566 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบาโงสะโต อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 66-L8423-1-05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2566 - 31 พฤษภาคม 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 28,250.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบล อบต.บาโงสะโต เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานนับเป็นโรคที่สำคัญที่มีผู้ป่วยในอัตราที่มากขึ้นทุกวัน เชื่อว่าในทุกที่ ทุกชุมชน ทุกหมู่บ้านจะมีการระบาดของโรคนี้แทบจะทุกที่ เรียกได้ว่าจะเป็นโรคประจำถิ่นในหลายๆพื้นที่ไปแล้ว ความพร่องของระบบในร่างกายเป็นกลไกสาเหตุทำให้เกิดโรคดังกล่าวทั้งนี้เกี่ยวเนื่องไปถึงการประพฤติปฏิบัติของบุคคลแต่ละคนที่ไม่ดูแลสุขภาพร่างกายของตนเอง ทั้งการไม่ควบคุมการรับประทานอาหาร การปล่อยปละละเลยการออกกำลังกาย ความเครียด สิ่งเหล่านี้ย่อมไปทำให้ร่างกายทำงานได้อย่างบกพร่องและทำให้เกิดโรคขึ้น อีกทั้งโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวานยังทำให้เกิดภาวะแทรกซ้อนต่างๆมากมาย เช่น การทำให้เกิดภาวะเส้นเลือดในสมองแตกที่อาจทำให้เกิดความพิการและเสียชีวิตในที่สุด การดำเนินงานสาธารณสุขในปัจจุบันมิได้นิ่งดูดายในการเฝ้าระวังโรคสำคัญดังกล่าวนี้  ยังมุ่งเน้นที่จะค้นหาผู้ป่วยรายใหม่และส่งต่อรับการรักษาอย่างถูกต้อง ตลอดจนมีการให้ความรู้ในกลุ่มเสี่ยงเพื่อปฏิบัติตนห่างไกลจากโรคได้ อย่างไรก็ตามปัญหาดังกล่าวยังคงไม่ทุเลา และยังคงเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญในพื้นที่ จากการผลการดำเนินงานสาธารณสุข ปี 2565 เกี่ยวกับการดำเนินงานงานควบคุมโรคไม่ติดต่อ พบว่ามีจำนวนผู้ป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานเขตโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านเจ๊ะเก ที่เป็นผู้ป่วยรายเก่าทั้งหมด 476 ราย คิดเป็น 9,875.56 ต่อแสนประชากร ซึ่งสถิติดังกล่าวเป็นผู้ป่วยจากระเบียนที่ได้รับการวินิจฉัยจากแพทย์และอยู่ในระหว่างการรักษาจะเห็นได้ว่ามีจำนวนผู้ป่วยที่สูงมาก จึงมีความจำเป็นเร่งด่วนต่อการป้องกันและควบคุม ทั้งในกลุ่มผู้ป่วยที่ต้องควบคุมป้องกันจากภาวะแทรกซ้อนที่อันตราย และกลุ่มเสี่ยงที่จะต้องป้องกันไม่ให้เป็นโรค จึงจำเป็นที่จะต้องส่งเสริม สนับสนุนให้เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของกลุ่มเหล่านั้น จากพฤติกรรมที่ไม่เอื้อต่อสุขภาพสู่พฤติกรรมที่เอื้อต่อการดูแลสุขภาพและห่างไกลจากโรคภัยไข้เจ็บโดยเฉพาะ มหันตภัยเงียบอย่างโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน
ดังนั้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านเจ๊ะเก ตำบลบาโงสะโต อ.ระแงะ จ.นราธิวาส จึงเล็งเห็นถึงความสำคัญที่จะจัดให้มีโครงการโครงการส่งเสริมสุขภาพเพื่อจัดการโรคเรื้อรัง ปี 2566 เพื่อให้ประชาชนเกิดการตื่นตัวในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพภายที่สอดคล้องกับวิถีชีวิตความเป็นอยู่ของชุมชน และน้อมนำหลักการอิสลามมาประยุกต์ใช้ในการส่งเสริมสุขภาพ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงด้วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง ห่างไกลจากโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน
  2. เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงด้วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานมีความรู้ความเข้าเกี่ยวกับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพเพื่อห่างไกลโรคเรื้อรัง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 200
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง สามารถป้องกันตัวเองจากโรคความ ดันโลหิตสูง โรคเบาหวานและภาวะแทรกซ้อนของโรคได้ 2.  เกิดเครือข่ายการทำงานในการดำเนินการควบคุมและป้องกันโรคไม่ติดต่อในชุมชนโดยมุ่งเน้นการ
            มีส่วนร่วมจากภาคีประชาชนเพื่อให้การแก้ไขปัญหามีความมั่นคงและยั่งยืน

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงด้วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง ห่างไกลจากโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน
    ตัวชี้วัด : เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงด้วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง ห่างไกลจากโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน ร้อยละ 60

     

    2 เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงด้วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานมีความรู้ความเข้าเกี่ยวกับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพเพื่อห่างไกลโรคเรื้อรัง
    ตัวชี้วัด : เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงด้วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานมีความรู้ความเข้าเกี่ยวกับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพเพื่อห่างไกลโรคเรื้อรัง ร้อยละ 80

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 250
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 200
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงด้วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง ห่างไกลจากโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน (2) เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงด้วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานมีความรู้ความเข้าเกี่ยวกับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพเพื่อห่างไกลโรคเรื้อรัง

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการส่งเสริมสุขภาพเพื่อจัดการโรคเรื้อรัง ประจำปี 2566 จังหวัด นราธิวาส

    รหัสโครงการ 66-L8423-1-05

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายมูคลิศ ยะยอ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด