กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ป่าบอน


“ โครงการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดต่อในเด็กปฐมวัย(มือ เท้า ปาก) ”

ตำบลป่าบอน อำเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นางนงเยาว์ คงนาลึก

ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดต่อในเด็กปฐมวัย(มือ เท้า ปาก)

ที่อยู่ ตำบลป่าบอน อำเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ L3342 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 16 พฤษภาคม 2566 ถึง 30 ตุลาคม 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดต่อในเด็กปฐมวัย(มือ เท้า ปาก) จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลป่าบอน อำเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ป่าบอน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดต่อในเด็กปฐมวัย(มือ เท้า ปาก)



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดต่อในเด็กปฐมวัย(มือ เท้า ปาก) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลป่าบอน อำเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ L3342 ระยะเวลาการดำเนินงาน 16 พฤษภาคม 2566 - 30 ตุลาคม 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 14,446.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ป่าบอน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

อเป็นอวัยวะที่มนุษย์ใช้ในการหยิบจับสิ่งของและสัมผัสสิ่งของต่างๆ รวมไปถึงการหยิบอาหารเข้าปาก จึงอาจจะนำเชื้อโรคเข้าสู่ร่างกาย และหากมีผู้เป็นโรคติดต่อ มืออาจจะเป็นอวัยวะตัวกลางในการแพร่เชื้อโรคสู่ผู้อื่น โดยจากการสัมผัสทางตรงหรือผ่านตัวกลาง ซึ่งจะพบบ่อยที่สุดต่อผู้คนมากมาย โดยเกิดจากการไม่ล้างมือหลังจาก การทำกิจกรรมต่างๆในแต่ละวัน เช่น โรคมือ เท้า ปาก ซึ่งเป็นโรคที่มักจะพบได้บ่อยในเด็กที่มีอายุน้อยกว่า 5 ปี หรือเด็กปฐมวัย ซึ่งโรคนี้มักจะพบบ่อย ในช่วงหน้าฝนที่เกิดจากเชื้อไวรัสการที่เด็กเป็นโรค มือ เท้า ปาก อันเกิดจากการรับประทานอาหารโดยขาดความสะอาด เช่น การไม่ล้างมือก่อน รับประทานอาหาร การดื่มน้ำหรือเด็กที่ดูดเลียนิ้วมือ ซึ่งอาการของโรคนี้มักมี อาการเจ็บคอ มีตุ่มพองใสขนาดเล็กๆ สีแดงกระจายอยู่บนคอหอยและตุ่มพองใสจะขยายกลายเป็นแผลร้อนใน โดยพบมากบริเวณต่อมทอมซิล ประมาณ  4-5 วัน ติดต่อโดยตรงจากการสัมผัสกับสารคัดหลังจากจมูก ลำคอ น้ำลาย และน้ำจากตุ่มใสรวมถึงอุจจาระของผู้ป่วยกลายเป็นโรคระบาดส่งผลกระทบ ต่อพัฒนาการและสุขภาพของเด็ก ดังนั้นโรงเรียนวัดป่าบอนต่ำ(ระแบบ-ถวิล ประชาสรรค์)จึงได้จัดทำโครงการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดต่อในเด็ก ปฐมวัย(มือ เท้า ปาก) โดยมุ่งหวังให้นักเรียนกลุ่มเป้าหมายเห็นความสำคัญของ การดูแลรักษาความสะอาดของร่างกายโดยเฉพาะมือ เพื่อป้องกันควบคุมโรค มือ เท้า ปาก ของเด็กปฐมวัยไม่ให้แพร่ระบาดต่อไปยังเด็กคนอื่น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1)นักเรียนในโรงเรียน มีสุขภาพกายที่ดี
  2. 2)นักเรียนมีความรู้ ในเรื่องการป้องกันโรคติดต่อ(มือ เท้า ปาก)
  3. 3)เฝ้าระวังป้องกันและควบคุม โรคติดต่อในเด็กปฐมวัย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 50
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1นักเรียนได้รับความรู้เรื่องการป้องกันโรคติดต่อ(มือ เท้า ปาก)และการดูแลรักษาด้วยตนเอง 2ลดการระบาดของโรคติดต่อในเด็กปฐมวัย(มมือ เท้า ปาก) 3เด็กนักเรียนสามารถดูแลสุขภาพร่างกายตนเองได้อย่างถูกต้อง


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1)นักเรียนในโรงเรียน มีสุขภาพกายที่ดี
    ตัวชี้วัด : นักเรียนมีสุขภาพทางกายที่ดี ร้อยละ 90
    90.00

     

    2 2)นักเรียนมีความรู้ ในเรื่องการป้องกันโรคติดต่อ(มือ เท้า ปาก)
    ตัวชี้วัด : นักเรียนมีความรู้ในเรื่องป้องกันโรคติดต่อ(มือ เท้า ปาก) ที่ถูกวิธีร้อยละ 90
    90.00

     

    3 3)เฝ้าระวังป้องกันและควบคุม โรคติดต่อในเด็กปฐมวัย
    ตัวชี้วัด : เฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดต่อในเด็กปฐมวัยร้อยละ 90
    90.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 50
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1)นักเรียนในโรงเรียน มีสุขภาพกายที่ดี (2) 2)นักเรียนมีความรู้ ในเรื่องการป้องกันโรคติดต่อ(มือ เท้า ปาก) (3) 3)เฝ้าระวังป้องกันและควบคุม โรคติดต่อในเด็กปฐมวัย

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดต่อในเด็กปฐมวัย(มือ เท้า ปาก) จังหวัด พัทลุง

    รหัสโครงการ L3342

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางนงเยาว์ คงนาลึก )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด