กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาคลินิกแพทย์แผนไทยโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปากคม สู่มาตรฐานคุณภาพ
รหัสโครงการ 66-L1535-02
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ผู้อำนวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปากคม
วันที่อนุมัติ 25 พฤษภาคม 2566
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 มิถุนายน 2566 - 31 สิงหาคม 2566
กำหนดวันส่งรายงาน 15 กันยายน 2566
งบประมาณ 37,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางทัศนีย์ ดำปิน
พี่เลี้ยงโครงการ นางสาววราลี ศรีเมฆ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลปากคม อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง
ละติจูด-ลองจิจูด 7.732,99.607place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานกิจกรรมทางกาย
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มวัยทำงาน 20 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

กลุ่มผู้สูงอายุ 20 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้สูงอายุ :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 5 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด :

กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 20 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของเด็กและวัยรุ่นอายุ 5-17 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อย 60 นาทีต่อวัน)
50.00
2 ร้อยละของผู้ใหญ่อายุ 18-64 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อย 150 นาทีต่อสัปดาห์)
50.00
3 ร้อยละของผู้สูงอายุ 65 ปี ขึ้นไป ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลาง อย่างน้อย 150 นาทีต่อสัปดาห์)
50.00
4 ร้อยละของการใช้ประโยชน์ของพื้นที่สาธารณะในการมีกิจกรรมทางกายของคนในชุมชน
50.00
5 ร้อยละของคนที่มีการสัญจรโดยการเดินหรือใช้จักรยานในชุมชน
50.00
6 ร้อยละของคนที่ออกกำลังกายในชุมชน
50.00
7 ร้อยละของเวลาในโรงเรียนที่มีการเรียนการสอนและการเล่นแบบกระฉับกระเฉง (Active play Active learning)
70.00
8 ร้อยละของสำนักงานหรือหน่วยงานราชการ ที่มีกิจกรรมส่งเสริมกิจกรรมทางกาย เช่น การออกกำลังกาย การมีการเคลื่อนไหวระหว่างการทำงาน
50.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ปัจจุบันการแพทย์แผนไทยและแพทย์ทางเลือกได้เข้ามามีบทบาทมากยิ่งขึ้นในระบบสาธารณสุขของไทยเนื่องจากการแพทย์แผนไทยเป็นศาสตร์ทางเลือกแขนงหนึ่งที่เป็นพื้นฐานการดูแลสุขภาพแบบองค์รวมมาใช้ในแง่สร้างเสริมสุขภาพ ป้องกัน รักษาโรคและการฟื้นฟูสุขภาพ ระบบการแพทย์แผนไทยซึ่งเป็นภูมิปัญญาท้องถิ่นของสังคมไทยที่ถูกสะสมและถ่ายทอดจากรุ่นหนึ่งสู่อีกรุ่นหนึ่งมาเป็นเวลานานอย่างต่อเนื่อง จึงเป็นอีกทางเลือกหนึ่งในการบำบัดรักษาสุขภาพของประชาชนซึ่งเริ่มได้รับความนิยมเป็นอย่างมาก พบว่าผู้เข้ารับบริการด้านการแพทย์แผนไทยไม่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานของตัวชี้วัดกระทรวงสาธารณสุข และขาดผลงานการให้บริการ ประคบ อบสมุนไพร เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามมาตรฐานโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ และสนับสนุนการแพทย์แผนไทยการแพทย์ผสมผสาน (รพ.สส.พท.) เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ด้านสถานที่ เครื่องมือ เครื่องใช้และสิ่งแวดล้อม โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปากคม จึงได้จัดทำโครงการพัฒนาคลินิกแพทย์แผนไทยโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปากคม สู่มาตรฐานคุณภาพ

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อเพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในเด็กและวัยรุ่น

ร้อยละของเด็กและวัยรุ่นอายุ 5-17 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อยที่สุด 60 นาทีต่อวัน)

50.00 70.00
2 เพื่อเพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้ใหญ่

ร้อยละของผู้ใหญ่อายุ 18-64 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อยที่สุด 150 นาทีต่อสัปดาห์)

50.00 70.00
3 เพื่อเพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้สูงอายุ

ร้อยละของผู้สูงอายุ 65 ปี ขึ้นไป ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลาง อย่างน้อย 150 นาทีต่อสัปดาห์)

50.00 70.00
4 เพื่อเพิ่มการใช้ประโยชน์พื้นที่สาธารณะที่เอื้อต่อการมีกิจกรรมทางกายของคนในชุมชน

ร้อยละของการใช้ประโยชน์ของพื้นที่สาธารณะในการมีกิจกรรมทางกายของคนในชุมชน

50.00 70.00
5 เพื่อเพิ่มการสัญจรโดยการเดินหรือใช้จักรยานในชุมชน

ร้อยละของคนที่มีการสัญจรโดยการเดินหรือใช้จักรยานในชุมชน

50.00 70.00
6 เพื่อเพิ่มการออกกำลังกายในชุมชน

ร้อยละของคนที่ออกกำลังกายในชุมชน

50.00 70.00
7 เพื่อเพิ่มการเรียนการสอนในลักษณะ Active learning และ Active play ในโรงเรียนและศูนย์ฯเด็กเล็ก

ร้อยละของเวลาในโรงเรียนที่มีการเรียนการสอนและการเล่นแบบกระฉับกระเฉง (Active play Active learning)

70.00 80.00
8 เพื่อเพิ่มการมีกิจกรรมทางกายในสถานที่ทำงาน

ร้อยละของสำนักงานหรือหน่วยงานราชการ ที่มีกิจกรรมส่งเสริมกิจกรรมทางกาย เช่น การออกกำลังกาย การมีการเคลื่อนไหวระหว่างการทำงาน

50.00 70.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
ลำดับกิจกรรมหลักงบประมาณมิ.ย. 66ก.ค. 66ส.ค. 66
1 จัดบริการการอบไอน้ำสมุนไพร ในคลินิกแพทย์แผนไทย(25 พ.ค. 2566-25 พ.ค. 2566) 37,000.00      
2 เยี่ยมบ้านกลุ่มเป้าหมายที่มารับบริการอบไอน้ำสมุนไพร(1 มิ.ย. 2566-31 ส.ค. 2566) 0.00      
3 ประเมินความพึงพอใจของกลุ่มเป้าหมายที่รับบริการอบไอน้ำสมุนไพร(1 มิ.ย. 2566-31 ส.ค. 2566) 0.00      
รวม 37,000.00
1 จัดบริการการอบไอน้ำสมุนไพร ในคลินิกแพทย์แผนไทย กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 65 37,000.00 0 0.00
1 มิ.ย. 66 - 31 ส.ค. 66 ค่าครุภัณฑ์ + ค่าวัสดุ 65 37,000.00 -
2 เยี่ยมบ้านกลุ่มเป้าหมายที่มารับบริการอบไอน้ำสมุนไพร กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 65 0.00 0 0.00
1 มิ.ย. 66 - 31 ส.ค. 66 เยี่ยมบ้านกลุ่มเป้าหมาย 65 0.00 -
3 ประเมินความพึงพอใจของกลุ่มเป้าหมายที่รับบริการอบไอน้ำสมุนไพร กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 65 0.00 0 0.00
1 มิ.ย. 66 - 31 ส.ค. 66 ประเมินความพึงพอใจของกลุ่มเป้าหมาย 65 0.00 -

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. เพื่อให้ประชาชนมีทางเลือกในการรับบริการแพทย์แผนไทยในสถานบริการสาธารณสุข
  2. เกิดการผสมผสานการแพทย์แผนไทยเข้าสู่ระบบบริการสาธารณสุขของรัฐ
  3. คลินิกแพทย์แผนไทยได้รับมาตรฐานงานด้านการแพทย์แผนไทย ที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนด
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 25 พ.ค. 2566 09:13 น.