โครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปากในผู้สูงอายุ
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปากในผู้สูงอายุ ”
ตำบลทุ่งยาว อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
นายสมนึก สังฆนาคิน
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งยาว
สิงหาคม 2566
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปากในผู้สูงอายุ
ที่อยู่ ตำบลทุ่งยาว อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 2566-L1482-2-15 เลขที่ข้อตกลง 15/2566
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2566 ถึง 31 สิงหาคม 2566
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปากในผู้สูงอายุ จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทุ่งยาว อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งยาว ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปากในผู้สูงอายุ
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปากในผู้สูงอายุ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทุ่งยาว อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 2566-L1482-2-15 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2566 - 31 สิงหาคม 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 16,350.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งยาว เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ผู้สูงอายุนับเป็นกลุ่มประชากรที่มีความสำคัญอย่างยิ่งในสังคมไทยที่ทุกฝ่ายต้องให้ความสำคัญ โดยข้อมูลปี 2565 ประเทศไทยมีประชากรผู้สูงอายุ จำนวน 12.6 ล้านคนจากจำนวนประชากรรวม 66 ล้านคน โดยคิดเป็นร้อยละ 19.1 ของประชากรรวม และคาดว่า ในปี 2565 ประเทศไทยจะเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุอย่างสมบูรณ์ (Complete Aged Society) คือ มีประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไป ร้อยละ 20 ของประชากรทั้งหมด ซึ่งการเปลี่ยนแปลงดังกล่าวนี้ จำเป็นต้องให้ความสำคัญในเรื่องการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุที่มีจำนวนเพิ่มขึ้นทั้งด้านร่างกาย จิตใจ และสังคม เพื่อลดผลกระทบต่อสุขภาพ
สุขภาพช่องปากถือเป็นองค์ประกอบหนึ่งที่สำคัญกับสุขภาพทางด้านร่างกาย อาทิ การสูญเสียฟันจำนวนมากจะลดประสิทธิภาพการเคี้ยวอาหาร ส่งผลกระทบต่อระบบทางเดินอาหาร การดำเนินชีวิตประจำวันและสุขภาพจิต เป็นต้น ดังกระแสพระราชดำรัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9 ความว่า “เวลาไม่มีฟันกินอะไรก็ไม่อร่อย ทำให้ไม่มีความสุขจิตใจก็ไม่สบายร่างกายก็ไม่แข็งแรง”จากรายงานผลการสำรวจสภาวะสุขภาพช่องปากระดับประเทศ ครั้งที่ ๘ ประเทศไทย พ.ศ. 2560 ในกลุ่มอายุ๖๐ ปี ขึ้นไป พบว่าร้อยละ 56.1 ของผู้สูงอายุ มีฟันอยู่ในสภาพใช้งานได้๒๐ ซี่ และผู้สูงอายุมีฟันแท้คู่สบ๔ คู่ ขึ้นไป ร้อยละ 40.2 ทำให้ประสิทธิภาพการบดเคี้ยวอาหารลดลงชัดเจน แม้ว่ากลุ่มผู้สูงอายุตอนต้นจะมีจำนวนมากกว่าครึ่ง มีฟันถาวร 20 ซี่ แต่ฟันถาวรที่เหลือนั้นยังมีปัญหารอยโรคและความผิดปกติในช่องปากที่จำเป็นต้องได้รับการดูแลที่เหมาะสม เพื่อป้องกันการลุกลามที่นำไปสู่ความเจ็บปวดและการสูญเสียฟัน ปัญหาที่สำคัญได้แก่ การสูญเสียฟันโดยเฉพาะการสูญเสียฟันทั้งปากในผู้สูงอายุ 60-74 ปี พบร้อยละ 8.7 แต่เมื่ออายุ 80-85 ปี เพิ่มสูง ถึงร้อยละ 31.0 ส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตด้านการบดเคี้ยวอย่างมาก
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหนองหว้า มีผู้สูงอายุ จำนวน 365 คน จากกการสำรวจสุขภาพช่องปากของผู้สูงอายุ หมู่ที่ 4 หมู่ที่ 6 และหมู่ที่ 7 ในเขตรับผิดชอบ พบว่าผู้สูงอายุมีฟันแท้ใช้งานได้ ๒๐ ซี่ขึ้นไป คิดเป็นร้อยละ 35.71เมื่อเทียบกับเป้าหมายทันตสุขภาพแห่งชาติ ที่รายงานผลการสำรวจสภาวะสุขภาพช่องปากระดับประเทศ ครั้งที่ ๘ ประเทศไทย พ.ศ.2560 ถือว่าอยู่ในเกณฑ์ต่ำ และผู้สูงอายุยังขาดความรู้ความเข้าใจ และการปฏิบัติตัวในการดูแลสุขภาพช่องปากของตนเองอย่างเหมาะสม อันจะนำไปสู่การสูญเสียฟันเมื่ออายุเพิ่มขึ้น ดังนั้นเพื่อเพิ่มประสิทธิผลในการลดการสูญเสียฟัน ให้กลุ่มผู้สูงอายุให้มีฟันใช้เคี้ยวอาหารอย่างเหมาะสมยืดอายุการใช้งาน
ชมรมผู้สูงอายุโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหนองหว้า จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปากในผู้สูงอายุ ขึ้นเพื่อเป็นการส่งเสริมและฟื้นฟูสุขภาพช่องปากของผู้สูงอายุในเขตรับผิดชอบ ให้สามารถดูแลสุขภาพช่องปากตนเองได้ ซึ่งในระยะยาวจะลดการสูญเสียฟันเมื่ออายุเพิ่มขึ้นต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้เรื่องโรคในช่องปากและการดูแลสุขภาพช่องปากที่ถูกต้อง
- เพื่อฝึกทักษะการดูแลสุขภาพช่องปากของผู้สูงอายุด้วยตนเองอย่างถูกต้อง
- เพื่อตรวจสุขภาพช่องปากของผู้สูงอายุในเขตพื้นที่ ม.4 ม.6 และ ม.7 ต.ทุ่งยาว
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพช่องปาก ฝึกทักษะการแปรงฟันและการใช้อุปกรณ์ดูแลช่องปากและการตรวจสุขภาพช่องปากของผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
50
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๑.ผู้สูงอายุมีความรู้เรื่องโรคและการดูแลสุขภาพช่องปาก
๒.ผู้สูงอายุมีทักษะการดูแลสุขภาพช่องปากของตนเองอย่างถูกต้อง
๓.ผู้สูงอายุในเขตรับผิดชอบได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้เรื่องโรคในช่องปากและการดูแลสุขภาพช่องปากที่ถูกต้อง
ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุมีความรู้เรื่องโรคและการดูแลสุขภาพช่องปาก
0.00
2
เพื่อฝึกทักษะการดูแลสุขภาพช่องปากของผู้สูงอายุด้วยตนเองอย่างถูกต้อง
ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุมีทักษะการดูแลสุขภาพช่องปากของตนเองอย่างถูกต้อง
0.00
3
เพื่อตรวจสุขภาพช่องปากของผู้สูงอายุในเขตพื้นที่ ม.4 ม.6 และ ม.7 ต.ทุ่งยาว
ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุในเขตรับผิดชอบได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
50
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
50
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้เรื่องโรคในช่องปากและการดูแลสุขภาพช่องปากที่ถูกต้อง (2) เพื่อฝึกทักษะการดูแลสุขภาพช่องปากของผู้สูงอายุด้วยตนเองอย่างถูกต้อง (3) เพื่อตรวจสุขภาพช่องปากของผู้สูงอายุในเขตพื้นที่ ม.4 ม.6 และ ม.7 ต.ทุ่งยาว
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพช่องปาก ฝึกทักษะการแปรงฟันและการใช้อุปกรณ์ดูแลช่องปากและการตรวจสุขภาพช่องปากของผู้สูงอายุ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปากในผู้สูงอายุ จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 2566-L1482-2-15
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายสมนึก สังฆนาคิน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปากในผู้สูงอายุ ”
ตำบลทุ่งยาว อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
นายสมนึก สังฆนาคิน
สิงหาคม 2566
ที่อยู่ ตำบลทุ่งยาว อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 2566-L1482-2-15 เลขที่ข้อตกลง 15/2566
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2566 ถึง 31 สิงหาคม 2566
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปากในผู้สูงอายุ จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทุ่งยาว อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งยาว ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปากในผู้สูงอายุ
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปากในผู้สูงอายุ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทุ่งยาว อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 2566-L1482-2-15 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2566 - 31 สิงหาคม 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 16,350.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งยาว เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ผู้สูงอายุนับเป็นกลุ่มประชากรที่มีความสำคัญอย่างยิ่งในสังคมไทยที่ทุกฝ่ายต้องให้ความสำคัญ โดยข้อมูลปี 2565 ประเทศไทยมีประชากรผู้สูงอายุ จำนวน 12.6 ล้านคนจากจำนวนประชากรรวม 66 ล้านคน โดยคิดเป็นร้อยละ 19.1 ของประชากรรวม และคาดว่า ในปี 2565 ประเทศไทยจะเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุอย่างสมบูรณ์ (Complete Aged Society) คือ มีประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไป ร้อยละ 20 ของประชากรทั้งหมด ซึ่งการเปลี่ยนแปลงดังกล่าวนี้ จำเป็นต้องให้ความสำคัญในเรื่องการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุที่มีจำนวนเพิ่มขึ้นทั้งด้านร่างกาย จิตใจ และสังคม เพื่อลดผลกระทบต่อสุขภาพ
สุขภาพช่องปากถือเป็นองค์ประกอบหนึ่งที่สำคัญกับสุขภาพทางด้านร่างกาย อาทิ การสูญเสียฟันจำนวนมากจะลดประสิทธิภาพการเคี้ยวอาหาร ส่งผลกระทบต่อระบบทางเดินอาหาร การดำเนินชีวิตประจำวันและสุขภาพจิต เป็นต้น ดังกระแสพระราชดำรัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9 ความว่า “เวลาไม่มีฟันกินอะไรก็ไม่อร่อย ทำให้ไม่มีความสุขจิตใจก็ไม่สบายร่างกายก็ไม่แข็งแรง”จากรายงานผลการสำรวจสภาวะสุขภาพช่องปากระดับประเทศ ครั้งที่ ๘ ประเทศไทย พ.ศ. 2560 ในกลุ่มอายุ๖๐ ปี ขึ้นไป พบว่าร้อยละ 56.1 ของผู้สูงอายุ มีฟันอยู่ในสภาพใช้งานได้๒๐ ซี่ และผู้สูงอายุมีฟันแท้คู่สบ๔ คู่ ขึ้นไป ร้อยละ 40.2 ทำให้ประสิทธิภาพการบดเคี้ยวอาหารลดลงชัดเจน แม้ว่ากลุ่มผู้สูงอายุตอนต้นจะมีจำนวนมากกว่าครึ่ง มีฟันถาวร 20 ซี่ แต่ฟันถาวรที่เหลือนั้นยังมีปัญหารอยโรคและความผิดปกติในช่องปากที่จำเป็นต้องได้รับการดูแลที่เหมาะสม เพื่อป้องกันการลุกลามที่นำไปสู่ความเจ็บปวดและการสูญเสียฟัน ปัญหาที่สำคัญได้แก่ การสูญเสียฟันโดยเฉพาะการสูญเสียฟันทั้งปากในผู้สูงอายุ 60-74 ปี พบร้อยละ 8.7 แต่เมื่ออายุ 80-85 ปี เพิ่มสูง ถึงร้อยละ 31.0 ส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตด้านการบดเคี้ยวอย่างมาก
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหนองหว้า มีผู้สูงอายุ จำนวน 365 คน จากกการสำรวจสุขภาพช่องปากของผู้สูงอายุ หมู่ที่ 4 หมู่ที่ 6 และหมู่ที่ 7 ในเขตรับผิดชอบ พบว่าผู้สูงอายุมีฟันแท้ใช้งานได้ ๒๐ ซี่ขึ้นไป คิดเป็นร้อยละ 35.71เมื่อเทียบกับเป้าหมายทันตสุขภาพแห่งชาติ ที่รายงานผลการสำรวจสภาวะสุขภาพช่องปากระดับประเทศ ครั้งที่ ๘ ประเทศไทย พ.ศ.2560 ถือว่าอยู่ในเกณฑ์ต่ำ และผู้สูงอายุยังขาดความรู้ความเข้าใจ และการปฏิบัติตัวในการดูแลสุขภาพช่องปากของตนเองอย่างเหมาะสม อันจะนำไปสู่การสูญเสียฟันเมื่ออายุเพิ่มขึ้น ดังนั้นเพื่อเพิ่มประสิทธิผลในการลดการสูญเสียฟัน ให้กลุ่มผู้สูงอายุให้มีฟันใช้เคี้ยวอาหารอย่างเหมาะสมยืดอายุการใช้งาน
ชมรมผู้สูงอายุโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหนองหว้า จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปากในผู้สูงอายุ ขึ้นเพื่อเป็นการส่งเสริมและฟื้นฟูสุขภาพช่องปากของผู้สูงอายุในเขตรับผิดชอบ ให้สามารถดูแลสุขภาพช่องปากตนเองได้ ซึ่งในระยะยาวจะลดการสูญเสียฟันเมื่ออายุเพิ่มขึ้นต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้เรื่องโรคในช่องปากและการดูแลสุขภาพช่องปากที่ถูกต้อง
- เพื่อฝึกทักษะการดูแลสุขภาพช่องปากของผู้สูงอายุด้วยตนเองอย่างถูกต้อง
- เพื่อตรวจสุขภาพช่องปากของผู้สูงอายุในเขตพื้นที่ ม.4 ม.6 และ ม.7 ต.ทุ่งยาว
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพช่องปาก ฝึกทักษะการแปรงฟันและการใช้อุปกรณ์ดูแลช่องปากและการตรวจสุขภาพช่องปากของผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 50 | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๑.ผู้สูงอายุมีความรู้เรื่องโรคและการดูแลสุขภาพช่องปาก ๒.ผู้สูงอายุมีทักษะการดูแลสุขภาพช่องปากของตนเองอย่างถูกต้อง ๓.ผู้สูงอายุในเขตรับผิดชอบได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้เรื่องโรคในช่องปากและการดูแลสุขภาพช่องปากที่ถูกต้อง ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุมีความรู้เรื่องโรคและการดูแลสุขภาพช่องปาก |
0.00 |
|
||
2 | เพื่อฝึกทักษะการดูแลสุขภาพช่องปากของผู้สูงอายุด้วยตนเองอย่างถูกต้อง ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุมีทักษะการดูแลสุขภาพช่องปากของตนเองอย่างถูกต้อง |
0.00 |
|
||
3 | เพื่อตรวจสุขภาพช่องปากของผู้สูงอายุในเขตพื้นที่ ม.4 ม.6 และ ม.7 ต.ทุ่งยาว ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุในเขตรับผิดชอบได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 50 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 50 | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้เรื่องโรคในช่องปากและการดูแลสุขภาพช่องปากที่ถูกต้อง (2) เพื่อฝึกทักษะการดูแลสุขภาพช่องปากของผู้สูงอายุด้วยตนเองอย่างถูกต้อง (3) เพื่อตรวจสุขภาพช่องปากของผู้สูงอายุในเขตพื้นที่ ม.4 ม.6 และ ม.7 ต.ทุ่งยาว
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพช่องปาก ฝึกทักษะการแปรงฟันและการใช้อุปกรณ์ดูแลช่องปากและการตรวจสุขภาพช่องปากของผู้สูงอายุ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปากในผู้สูงอายุ จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 2566-L1482-2-15
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายสมนึก สังฆนาคิน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......