กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตันหยงลิมอ


“ โครงการป้องกันและลดอุบัติเหตุทางถนนในเด็กนักเรียน ”

ตำบลตันหยงลิมอ อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นายฮาเซ็ม ซูเล็ง

ชื่อโครงการ โครงการป้องกันและลดอุบัติเหตุทางถนนในเด็กนักเรียน

ที่อยู่ ตำบลตันหยงลิมอ อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 66 - L8426 - 1 - 15 เลขที่ข้อตกลง 15/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2566 ถึง 30 มิถุนายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการป้องกันและลดอุบัติเหตุทางถนนในเด็กนักเรียน จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตันหยงลิมอ อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตันหยงลิมอ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกันและลดอุบัติเหตุทางถนนในเด็กนักเรียน



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการป้องกันและลดอุบัติเหตุทางถนนในเด็กนักเรียน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลตันหยงลิมอ อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 66 - L8426 - 1 - 15 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2566 - 30 มิถุนายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 64,320.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตันหยงลิมอ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สาเหตุการเสียชีวิตจากอุบัติเหตุบนท้องถนนในประเทศไทย 99% เกิดจากการไม่สวมหมวกนิรภัย โดยรายงานของสมาคมส่งเสริมความปลอดภัยและอนามัยในการทำงาน (ประเทศไทย) ยังเผยว่า มีเด็กไทยเพียง 7% เท่านั้นที่สวมใส่หมวกนิรภัยระหว่างการขับขี่พาหนะประเภทสองล้อ ซึ่งอัตราการใช้หมวกนิรภัยจำนวนน้อยนี่เอง สะท้อนให้เห็นถึงความรู้เท่าไม่ถึงการณ์ว่าภัยอันตรายรอบตัวนั้นสามารถเกิดขึ้นได้แบบไม่คาดคิด และเป็นเรื่องที่น่ากังวลที่พ่อแม่และผู้ปกครองหลายๆ คนไม่ได้ตระหนักถึงความสำคัญในการให้บุตรหลานสวมใส่หมวกนิรภัยขณะเดินทางด้วยรถจักรยานยนต์ แล้วก็ยังมีอีกหลายครอบครัวที่แม้จะสวมหมวกนิรภัยให้เด็ก แต่ไม่รู้ว่าจะเลือกใช้หมวกนิรภัยที่มีคุณภาพ มีขนาดพอดีกับศีรษะเด็ก และจะสวมใส่หมวกนิรภัยให้เด็กอย่างถูกวิธีได้อย่างไร และพฤติกรรมการขับขี่ที่ประมาท ขาดความระมัดระวัง ชะล่าใจ ขับขี่ด้วยความเร็ว การฝ่าสัญญาณไฟ การขับขี่ในช่องจราจรที่ไม่ถูกต้อง การเปลี่ยนช่องทางจราจรโดยไม่เปิดสัญญาณไฟ เนื่องจากอาจเข้าใจว่าเป็นพื้นที่ที่การจราจรไม่ได้หนาแน่นเหมือนในเมือง เป็นต้น ด้วยเหตุนี้การรณรงค์ส่งเสริมการสวมหมวกนิรภัยและได้มาตรฐาน รวมถึงการเรียนรู้วิธีการใช้รถใช้ถนนอย่างถูกต้อง จึงเป็นจุดเริ่มต้นที่สำคัญในการป้องกันและสร้างความตระหนักถึงความปลอดภัยบนท้องถนน เพื่อลดการสูญเสียจากอุบัติเหตุ ดังนั้น เพื่อกระตุ้นให้เกิดพฤติกรรมที่ถูกต้องในการใช้ถนน การสร้างความรู้ความเข้าใจแก่เด็ก พ่อแม่และผู้ปกครอง ให้เห็นถึงความสำคัญของการใช้หมวกนิรภัย พร้อมอบรมวินัยจราจร ซึ่งเป็นเรื่องจำเป็นอย่างมากในการช่วยลดการเกิดอุบัติเหตุและจำนวนตัวเลขผู้บาดเจ็บและเสียชีวิตในเด็ก โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เด็กถือเป็นอนาคตของชาติ
      องค์การบริหารส่วนตำบลตันหยงลิมอ ได้ตระหนักถึงความสำคัญของการสร้างความปลอดภัยบนท้องถนนของเด็กในวัยเรียน จึงได้จัดทำโครงการป้องกันและลดอุบัติเหตุทางถนนในเด็กนักเรียนขึ้น โดยการจัดอบรมให้ความรู้ด้านความปลอดภัยทางท้องถนนและการสาธิตการใช้หมวกนิรภัยอย่างถูกวิธีให้กับผู้ปกครอง เด็กนักเรียน โดยเน้นให้เด็กๆ เป็นศูนย์กลาง ส่วนผู้ปกครองจะทำหน้าที่เป็นผู้ดูแลและให้ความรู้ที่ถูกต้องอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้เด็กนักเรียนได้ขับขี่รถจักรยานยนต์หรือจักรยานได้อย่างปลอดภัย และคาดหวังที่ทำให้อัตราการบาดเจ็บ และความรุนแรงของการบาดเจ็บที่ ศรึษะลดน้อยลงให้มากที่สุด

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้เด็กนักเรียนมีและสวมใส่หมวกนิรภัยขณะขับขี่หรือโดยสารรถจักรยานยนต์
  2. เพื่อปลูกฝังวินัยจราจรให้แก่คนไทยตั้งแต่เยาว์วัย
  3. เพื่อฝึกและเสริมสร้างทักษะการขับขี่ปลอดภัยและการสวมหมวกนิรภัยที่ได้มาตรฐานเพื่อป้องกันการบาดเจ็บจากการขับขี่
  4. เพื่อสร้างวัฒนธรรมการสวมหมวกนิรภัยทุกครั้งเมื่อขับขี่หรือโดยสารรถจักรยานยนต์ เพื่อลดความเสี่ยงและป้องกันการ บาดเจ็บรุนแรงจากอุบัติเหตุทางถนน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดเตรียมสื่อ วัสดุ อุปกรณ์ในการดำเนินโครงการ
  2. ฝึกอบรมให้ความรู้
  3. ฝึกอบรมให้ความรู้

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 80
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. เด็กนักเรียนมีการสวมใส่หมวกนิรภัยขณะที่ขับขี่หรือโดยสารรถจักรยานยนต์   2. ผู้ขับขี่หรือโดยสารรถจักรยานยนต์มีวินัยจราจรตั้งแต่เยาว์วัย   3. ผู้ขับขี่รถจักรยานยนต์มีทักษะการขับขี่ปลอดภัยและการสวมหมวกนิรภัยที่ได้มาตรฐานเพื่อป้องกันการบาดเจ็บจากการขับขี่
      4. เกิดวัฒนธรรมการสวมหมวกนิรภัยทุกครั้งเมื่อขับขี่หรือโดยสารรถจักรยานยนต์ เพื่อลดความเสี่ยงและป้องกันการ      บาดเจ็บรุนแรงจากอุบัติเหตุทางถนน

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. จัดเตรียมสื่อ วัสดุ อุปกรณ์ในการดำเนินโครงการ

วันที่ 15 มิถุนายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

จัดซื้อหมวกนิรภัยมาตรฐาน มอ.ก.สำหรับเด็กอายุ 10 – 15 ปี

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้หมวกนิรภัยมาตรฐาน มอ.ก.สำหรับเด็กอายุ 10 – 15 ปี

 

0 0

2. ฝึกอบรมให้ความรู้

วันที่ 24 มิถุนายน 2566 เวลา 08:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

08.30 - 09.30  อันตรายของการใช้รถใช้ถนนที่ไม่เคารพกฏจราจร 10.00 - 12.00  พรบ.จราจรทางบก 13.00 - 14.00  พฤติกรรมการใช้รถใช้ถนนของวันรุ่น 14.00 - 15.00  การเลือกใช้หมวกนิรภัย(หมวกกันน็อก) 15.20 - 17.00  จัดขบวนและปล่อยขบวนรณรงค์การสวมหมวกนิรภัย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้เข้าร่วมโครงการ ได้รับความรู้ ถึงอันตรายของการใช้รถใช้ถนนที่ไม่เคารพกฏจราจร  จากวิทยากรบรรยายและการชมวีดีทัศน์  และได้รับฟัง เรื่อง พรบ.จราจรทางบก ผู้เข้าร่วมโครงการ  ได้ศึกษา พฤติกรรมการใช้รถใช้ถนนของวันรุ่น  และได้เรียนรู้การเลือกใช้หมวกนิรภัย(หมวกกันน็อก)

 

48 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้เด็กนักเรียนมีและสวมใส่หมวกนิรภัยขณะขับขี่หรือโดยสารรถจักรยานยนต์
ตัวชี้วัด : เด็กนักเรียนมีการสวมใส่หมวกนิรภัยทุกครั้งขณะขับขี่หรือโดยสารรถจักยานยนต์
72.00

 

2 เพื่อปลูกฝังวินัยจราจรให้แก่คนไทยตั้งแต่เยาว์วัย
ตัวชี้วัด : เป็นผู้ขับขี่ที่เคารพและปฏิบัติตามกฎจราจรอย่างเคร่งครัด
72.00

 

3 เพื่อฝึกและเสริมสร้างทักษะการขับขี่ปลอดภัยและการสวมหมวกนิรภัยที่ได้มาตรฐานเพื่อป้องกันการบาดเจ็บจากการขับขี่
ตัวชี้วัด : เด็กมีทักษะการขับขี่ที่ถูกต้องปลอดภัยและสวมหมวกกันนิรภัยอย่างถูกต้องขณะขัยขี่รถจักรยานยนต์
72.00

 

4 เพื่อสร้างวัฒนธรรมการสวมหมวกนิรภัยทุกครั้งเมื่อขับขี่หรือโดยสารรถจักรยานยนต์ เพื่อลดความเสี่ยงและป้องกันการ บาดเจ็บรุนแรงจากอุบัติเหตุทางถนน
ตัวชี้วัด : ทุกครั้งที่มีการขับขี่หรือโดยสารรถจักรยานยนต์จะต้องสวมใส่หมวกนิรภัยทุกครั้ง
72.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 80
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 80
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เด็กนักเรียนมีและสวมใส่หมวกนิรภัยขณะขับขี่หรือโดยสารรถจักรยานยนต์ (2) เพื่อปลูกฝังวินัยจราจรให้แก่คนไทยตั้งแต่เยาว์วัย (3) เพื่อฝึกและเสริมสร้างทักษะการขับขี่ปลอดภัยและการสวมหมวกนิรภัยที่ได้มาตรฐานเพื่อป้องกันการบาดเจ็บจากการขับขี่ (4) เพื่อสร้างวัฒนธรรมการสวมหมวกนิรภัยทุกครั้งเมื่อขับขี่หรือโดยสารรถจักรยานยนต์ เพื่อลดความเสี่ยงและป้องกันการ            บาดเจ็บรุนแรงจากอุบัติเหตุทางถนน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดเตรียมสื่อ วัสดุ อุปกรณ์ในการดำเนินโครงการ (2) ฝึกอบรมให้ความรู้ (3) ฝึกอบรมให้ความรู้

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการป้องกันและลดอุบัติเหตุทางถนนในเด็กนักเรียน จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 66 - L8426 - 1 - 15

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายฮาเซ็ม ซูเล็ง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด