กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพกาย สุขภาพจิตด้วยโภชนาการและการเคลื่อนไหว
รหัสโครงการ 66-L3367-2-03
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยงานอื่นๆ ที่ไม่ใช่หน่วยงานสาธารณสุข เช่น โรงเรียน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงเรียนบ้านไทรทอง
วันที่อนุมัติ 30 พฤษภาคม 2566
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 16 พฤษภาคม 2566 - 30 กันยายน 2566
กำหนดวันส่งรายงาน 30 ตุลาคม 2566
งบประมาณ 14,960.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านไทรทอง
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนบ้านไทรทอง
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานกิจกรรมทางกาย , แผนงานอาหารและโภชนาการ , แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 21 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน :

กลุ่มวัยทำงาน 7 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของเวลาในโรงเรียนที่มีการเรียนการสอนและการเล่นแบบกระฉับกระเฉง (Active play Active learning)
35.00
2 จำนวนเด็ก อายุ 6-13 ปี ที่มีภาวะอ้วน
1.00
3 จำนวนเด็ก อายุ 6-13 ปี ที่มีภาวะผอม เตี้ย
2.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

โรงเรียนบ้านไทรทอง มีนักเรียน ชั้นอนุบาล - ป.6 จำนวน 21 คน ครูและบุคลากรทางการศึกษา จำนวน 7 คน รวม 28 คนจากการสำรวจพบว่าโรงเรียนมีนักเรียนที่มีน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์และเตี้ย จำนวน 2 คนน้ำหนักเกิน จำนวน 1 คน นักเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษามีเวลาในการออกกำลังกายน้อย เนื่องจากพฤติกรรมของนักเรียนเองที่เด็กมักจะชอบทำกิจกรรมที่มีการเคลื่อนไหวน้อย เช่นเล่นโทรศัพท์ ดูทีวี เล่นเกมส์และครูที่มีเวลาในการออกกำลังกายน้อย กิจกรรมเคลื่อนไหวน้อย เนื่องจากภารกิจต่างๆโรงเรียนจึ่งมีความเห็นว่าควรให้ความสำคัญและส่งเสริมให้นักเรียนและบุคลากรทางการศึกษา ได้มีกิจกรรมการเคลื่อนไหวเพิ่มขึ้นในระหว่างที่อยู่ในโรงเรียน และการให้ความรู้ด้านอาหารโภชนาการแก่นักเรียนและครู ตลอดจนพัฒนาส่งเสริมความสัมพันธ์อันดีระหว่างนักเรียนด้วยกัน นักเรียนและครู

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อเพิ่มการเรียนการสอนในลักษณะ Active learning และ Active play ในโรงเรียนและศูนย์ฯเด็กเล็ก

ร้อยละของเวลาในโรงเรียนที่มีการเรียนการสอนและการเล่นแบบกระฉับกระเฉง (Active play Active learning)

35.00 50.00
2 เพื่อลดจำนวนเด็ก อายุ 6-13 ปีที่มีภาวะอ้วน

ร้อยละ 50 ขอเด็ก อายุ 6-13 ปีที่มีภาวะอ้วนลดลง

2.00 1.00
3 จำนวนเด็ก อายุ 6-13 ปี ที่มีภาวะผอม เตี้ย

ร้อยละ 100 ของเด็ก อายุ 6-13 ปีที่มีภาวะผอมเตี้ยลดลง

1.00 1.00
4 เพื่อสร้างเสริมสุขนิสัยและดูแลสุขภาพช่องปากและฟัน

กลุ่มเป้าหมายมีสุขนิสัยและสุขภาพช่องปากที่ดี ร้อยละ 90

21.00 19.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 14,960.00 0 0.00
1 มิ.ย. 66 - 30 ก.ย. 66 การบูรณาการกิจกรรมการเคลื่อนไหวกับหลักสูตรการเรียน 0 175.00 -
1 มิ.ย. 66 - 30 ก.ย. 66 ส่งเสริมการเคลื่อนไหวและการออกกำลังกาย 0 5,230.00 -
1 มิ.ย. 66 - 30 ก.ย. 66 การสร้างสุขนิสัยและดูแลช่องปาก 0 2,155.00 -
15 - 30 มิ.ย. 66 การอบรมให้ความรู้เรื่องโภชนาการและการดูแลสุขภาพกาย อารมณ์และจิตใจของตนเอง 0 6,000.00 -
1 - 30 ต.ค. 66 การประเมินติดตาม และสรุปโครงการ 0 1,400.00 -

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.โรงเรียนที่มีการเรียนการสอนและการเล่นแบบกระฉับกระเฉง (Active play Active learning) เพิ่มขึ้นร้อยละ 17.5รวมเป็นร้อยละ 50 2. จำนวนเด็ก อายุ6- 13 ปี ที่มีภาวะอ้วนลดลงร้อยละ 50 3. จำนวนเด็ก อายุ6- 13 ปี ที่มีภาวะผอม เตี้ยลดลงร้อยละ 100 4. นักเรียนมีสุขนิสัยด้านสุขภาพกายและการดูแลช่องปากที่ดี ร้อยละ 90

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 30 พ.ค. 2566 08:10 น.