กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการสตรียุคใหม่ ใสใจสุขภาพ ห่างไกลมะเร็งเต้านม
รหัสโครงการ
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) หมู่ที่ 3 ตำบลตันหยงโป
วันที่อนุมัติ 29 พฤษภาคม 2566
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 มิถุนายน 2566 - 31 สิงหาคม 2566
กำหนดวันส่งรายงาน 1 กันยายน 2566
งบประมาณ 9,100.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางหัทยา หมัดตานี
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลตันหยงโป อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล
ละติจูด-ลองจิจูด 6.589,99.936place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 40 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

โรคมะเร็งเต้านม ถือเป็นโรคที่เป็นปัญหาและคุกคามสุขภาพอย่างมากในสตรียุคปัจจุบัน ซึ่งในระยะแรกจะไม่แสดงอาการหรือความผิดปกติให้สังเกตุได้ แต่อาการผิดปกติจะปรากฏให้เห็นเมื่ออยู่ในระยะที่มีการอักเสบหรือลุกลามไปแล้วและอาจเสียชีวิตได้ในเวลาต่อมา การป้องกันที่ดีที่สุดคือการค้นหาความผิดปกติของเต้านม เพื่อมีโอกาสในการรักษาและการรอดชีวิตได้   ดังนั้น ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) หมู่ที่ 3 ตำบลตันหยงโป ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญของปัญหาเรื่องโรคมะเร็งเต้านม จึงได้จัดทำ “โครงการสตรียุคใหม่ ใส่ใจสุขภาพ ห่างไกลมะเร็งเต้านม” ขึ้น เพื่อเป็นการส่งเสริมสตรีให้มีความรู้และทักษะในการตรวจมะเร็งเต้านมด้วยตนเองได้อย่างถูกต้องต่อไป

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อส่งเสริมให้สตรี มีความรู้ ความเข้าใจ ในเรื่องมะเร็งเต้านม

มีจำนวนผู้เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80

2 เพื่อส่งเสริมให้สตรี ได้รับการฝึกทักษะการตรวจมะเร็งเต้านมด้วยตนเองได้อย่างถูกต้อง

ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถตรวจเต้านมตนเองได้อย่างถูกต้อง ร้อยละ 100

stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
  1. ประชุมคณะทำงานเพื่อวางแผนและกำหนดแนวทางในการดำเนินงาน
  2. เขียนโครงการและนำเสนอเพื่อขออนุมัติโครงการจากกองทุนฯ
  3. ประสานงานกับคณะดำเนินงานและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
  4. ประชาสัมพันธ์โครงการแก่ผู้นำชุมชน อาสาสมัครสาธารณสุขประจำชุมชน และประชาชนในชุมชน
  5. ดำเนินการจัดโครงการ/กิจกรรม ตามแผนงาน
  6. ประเมินผล/สรุปผลการดำเนินงาน
  7. รายงานผลการดำเนินงานให้แก่กองทุนฯ
stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. สตรีได้รับความรู้ และเกิดความเข้าใจ ในเรื่องโรคมะเร็งเต้านม
  2. สตรีได้รับการฝึกทักษะ และสามารถตรวจมะเร็งเต้านมได้ด้วยตนเองอย่างถูกต้อง
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 31 พ.ค. 2566 13:46 น.