กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลตันหยงโป


“ โครงการเยาวชน HSY สร้างสรรค์ห่างไกลยาเสพติด ”

ตำบลตันหยงโป อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นางอรุณี ประมาณ

ชื่อโครงการ โครงการเยาวชน HSY สร้างสรรค์ห่างไกลยาเสพติด

ที่อยู่ ตำบลตันหยงโป อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง 2/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2566 ถึง 31 สิงหาคม 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเยาวชน HSY สร้างสรรค์ห่างไกลยาเสพติด จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตันหยงโป อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลตันหยงโป ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเยาวชน HSY สร้างสรรค์ห่างไกลยาเสพติด



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเยาวชน HSY สร้างสรรค์ห่างไกลยาเสพติด " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลตันหยงโป อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2566 - 31 สิงหาคม 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 9,905.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลตันหยงโป เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

เนื่องด้วยปัจจุบันสถานการณ์การเผยแพร่ระบาดของยาเสพติด ยังคงระดับความรุนแรงอย่างต่อเนื่องรัฐบาลจึงกำหนดให้การป้องกันและแก้ไขยาเสพติด เป็นแนวนโยบายที่สำคัญและเร่งด่วนในการบริหารราชการแผ่นดิน โดยยึดหลัก "ผู้เสพ คือ ผู้ป่วยที่ต้องได้รับการบำบัดรักษา ผู้ค้า คือผู้ที่ต้องได้รับโทษตามกระบวนการยุติธรรม" ซึ่งกำหนดให้เร่งรัดปราบปรามการค้ายาเสพติด และป้องกันไม่ให้กลุ่มเสี่ยงเข้าไปเป็นเหยื่อของยาเสพติด โดยใช้กระบวนการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในสังคม ให้ร่วมดำเนินการในลักษณะบูรณาการ ควบคู่กับมาตราการทางกฎหมาย ซึ่งจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของยาเสพติดในประเทศไทย พบว่ามีเด็กและเยาวชน จำนวนไม่น้อยที่เข้าไปยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติด ทั้งเกิดจากความตั้งใจ และเกิดจากการหลงผิด โดยรรู้เท่าไม่ถึงการณ์ อีกทั้งยังมีปัจจัยเสี่ยงต่างๆที่จะทำให้เด็กและเยาวชน มีโอกาสเข้าไปติดยาเสพติดเพิ่มมากขึ้นอีก เช่น เด็กและเยาวชน เป็นวัยที่ต้องการเรียนรู้ อยากลอง ต้องการเรียกร้องความสนใจ การสร้างการยอมรับกล้าทำในสิ่งที่ท้าทาย การชักจูง และการหลอกลวง เป็นต้น ดังนั้น เด็กและเยาวชนจำเป็นต้องได้รับการดูแลเอาใจใส่อย่างเพียงพอ ต้องได้รับการถ่ายทอดความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องและการรู้โทษที่ร้ายแรงของยาเสพติดอย่างเหมาะสม การรู้จักการหลีกเลี่ยงสิ่งเสพติด และสิ่งสำคัญคือการสร้างภูมิคุ้มกันให้กับเด็กและเยาวชน โดยผนึกกำลังทุกภาคส่วน ให้ร่วมคิด ร่วมทำ ร่วมรับผิดชอบ และร่วมแรงร่วมใจเป็นพลังของแผ่นดิน ที่จะต่อสู้เพื่อเอาชนะปัญหายาเสพติด มัสยิดเป็นส่วนหนึ่งของชุมชนและสังคม นอกจากเป็นสถานที่ในการปฏิบัติศาสนกิจ และปลูกฝังคุณธรรมให้แก่เด็ก เยาวชนและประชาชนในพื้นที่แล้ว ยังมีบทบาทหน้าที่และภารกิจอีกหลายด้านรวมทั้งหลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ)     เนื่องด้วยปัจจุบันสถานการณ์การเผยแพร่ระบาดของยาเสพติด ยังคงระดับความรุนแรงอย่างต่อเนื่องรัฐบาลจึงกำหนดให้การป้องกันและแก้ไขยาเสพติด เป็นแนวนโยบายที่สำคัญและเร่งด่วนในการบริหารราชการแผ่นดิน โดยยึดหลัก "ผู้เสพ คือ ผู้ป่วยที่ต้องได้รับการบำบัดรักษา ผู้ค้า คือผู้ที่ต้องได้รับโทษตามกระบวนการยุติธรรม" ซึ่งกำหนดให้เร่งรัดปราบปรามการค้ายาเสพติด และป้องกันไม่ให้กลุ่มเสี่ยงเข้าไปเป็นเหยื่อของยาเสพติด โดยใช้กระบวนการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในสังคม ให้ร่วมดำเนินการในลักษณะบูรณาการ ควบคู่กับมาตราการทางกฎหมาย ซึ่งจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของยาเสพติดในประเทศไทย พบว่ามีเด็กและเยาวชน จำนวนไม่น้อยที่เข้าไปยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติด ทั้งเกิดจากความตั้งใจ และเกิดจากการหลงผิด โดยรรู้เท่าไม่ถึงการณ์ อีกทั้งยังมีปัจจัยเสี่ยงต่างๆที่จะทำให้เด็กและเยาวชน มีโอกาสเข้าไปติดยาเสพติดเพิ่มมากขึ้นอีก เช่น เด็กและเยาวชน เป็นวัยที่ต้องการเรียนรู้ อยากลอง ต้องการเรียกร้องความสนใจ การสร้างการยอมรับกล้าทำในสิ่งที่ท้าทาย การชักจูง และการหลอกลวง เป็นต้น ดังนั้น เด็กและเยาวชนจำเป็นต้องได้รับการดูแลเอาใจใส่อย่างเพียงพอ ต้องได้รับการถ่ายทอดความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องและการรู้โทษที่ร้ายแรงของยาเสพติดอย่างเหมาะสม การรู้จักการหลีกเลี่ยงสิ่งเสพติด และสิ่งสำคัญคือการสร้างภูมิคุ้มกันให้กับเด็กและเยาวชน โดยผนึกกำลังทุกภาคส่วน ให้ร่วมคิด ร่วมทำ ร่วมรับผิดชอบ และร่วมแรงร่วมใจเป็นพลังของแผ่นดิน ที่จะต่อสู้เพื่อเอาชนะปัญหายาเสพติด มัสยิดเป็นส่วนหนึ่งของชุมชนและสังคม นอกจากเป็นสถานที่ในการปฏิบัติศาสนกิจ และปลูกฝังคุณธรรมให้แก่เด็ก เยาวชนและประชาชนในพื้นที่แล้ว ยังมีบทบาทหน้าที่และภารกิจอีกหลายด้านรวมทั้งการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด ซึ่งเป็นภารกิจที่ทุกภาคส่วนต้องดำเนินการร่วมกัน และในสภาพปัจจุบันสถานการณ์การแพร่ระบาดของยาเสพติด มาในรูปแบบและวิธีการต่างๆมากมาย เข้าไปสู่เด็กและเยาวชนในสถานศึกษา ต่างๆมากยิ่งขึ้น ทางโรงเรียนจึงมีความจำเป็นที่จะหาแนวทางป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด ไม่ให้เกิดขึ้นในหมู่บ้าน เพื่อเป็นการสร้างภูมิคุ้มกันให้กับเยาวชนไทย ส่งเสริมกิจกรรมการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดให้เกิดขึ้นอย่างเป็นรูปธรรม จึงได้จัดทำโครงการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดขึ้นในชุมชนขึ้นประกอบด้วยยุทธศาสตร์การดำเนินงาน 3 ยุทธศาสตร์ ได้แก่     ยุทธศาสตร์ที่ 1 การรณรงค์เพื่อปลุกจิตสำนึก และสร้างกระแสที่เอื้อต่อการป้องกัน และแก้ไขปัญหายาเสพติด ภายใต้แนวคิดการสร้างกระแส "เป็นหนึ่งโดยไม่พึ่งยาเสพติด"โดยผ่านสื่อและการจัดกิจกรรมรณรงค์สร้างสรรค์ต่างๆ เพื่อให้วัยรุ่นและเยาวชนและประชาชนทั่วไปที่เข้าร่วมกิจกรรมเกิดความภาคภูมิใจและเห็นคุณค่าของตนเอง กิจกรรมใน ยุทธศาสตร์นี้ ได้แก่ การประชาสัมพันธ์ผ่านสื่อ การจัดกิจกรรมรณรงค์ในหลากหลายรูปแบบ   ยุทธศาสตร์ที่ 2 การเสริมสร้างภูมิคุ้มกันทางจิตให้กับเยาวชนในชุมชน ประกอบด้วย 2 กิจกรรม คือ   กิจกรรมที่ 1 การเสริมสร้างภูมิคุ้มกันทางจิตให้กับเยาวชนในชุมชน ได้แก่ กิจกรรมการพัฒนาและผลิตเทคโนโลยี การเสริมสร้างภูมิคุ้มกันทางจิตให้แก่เยาวชนในชุมชน การอบรมให้ความรู้และฝึกทักษะการจัดกิจกรรมเสริมสร้างภูมิคุ้มกันทางจิตให้กับเยาวชน การใช้เทคโนโลยีให้แก่กลุ่มแกนนำเยาวชน และการสนับสนุนให้แกนนำเยาวชนที่ผ่านการอบรมดำเนินการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันทางจิตให้เยาวชนในชุมชน   กิจกรรมที่ 2 โครงการพัฒนาและจัดตั้งศูนย์เพื่อนใจวัยรุ่น (TO BE NUMBER ONE FRIEND CORNER) กิจกรรมได้แก่ การจัดตั้งศูนย์เพื่อนใจวัยรุ่นในชุมชนเมือง ชุมชนชนบท สถานศึกษาและสถานประกอบการ ภายใต้แนวคิด        "ปรับทุกข์ สร้างสุข แก้ไขปัญหา พัฒนา EQ" โดยจัดให้มีบริการให้คำปรึกษา(Counseling) บริการฝึกแก้ปัญหาพัฒนา EQ ทั้งด้วยตนเอง กิจกรรมกลุ่มและบริการกิจกรรมเสริมทักษะเชิงสร้างสรรค์เพื่อสร้างสุขด้วยการเสริมสร้างสุขภาพให้แก่วัยรุ่นและเยาวชนด้วยกิจกรรมด้านตนตรี กีฬา ศิลปะโดยศิลปินดารา นักกีพาที่มีชื่อเสียง และวิทยากรผู้เชี่ยวชาญอื่นๆ ในศูนย์เพื่อนใจวัยรุ่น     ยุทธศาสตร์ที่ 3 การสร้างและพัฒนาเครือข่าย เน้นการสร้างและพัฒนาเครือข่ายสมาชิกเพื่อให้การร่วมมือร่วมใจป้องกันปัญหายาเสพติดมีความต่อเนื่องและยั่งยืน ในรูปแบบของการบูรณาการความร่วมมือระหว่างหน่วยงาน/องค์กรภาครัฐและเอกชนในระดับประเทศและระดับพื้นที่     ผลผลิตจากการดำเนินตามยุทธศาสตร์ ที่สำคัญผลผลิตหนึ่งคือ การจัดตั้งชมรม TO BE NUMBER ONE เรียนรู้ระหว่างชมรมทั้งภายในและภายนอกจังหวัด ย่อมเป็นกิจกรรมสำคัญที่จะเสริมสร้างประสบการณ์ให้กับสมาชิกชมรม        TO BE NUMBER ONE ให้มีโอกาสสร้างกิจกรรมเชิงสร้างสรรค์ให้มีมากขึ้น อันจะเป็นการพัฒนาแนวคิดการพัฒนาให้กับเยาวชน ให้เปิดมุมมองที่กว้างออกไปจนเป็นที่ยอมรับทั้งในระดับจังหวัด ภูมิภาคและระดับชาติ ต่อไป     โรงเรียนบ้านหาดทรายยาว ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญในป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด และส่งเสริมให้ความรู้ เกี่ยวกับยาเสพติดให้แก่นักเรียน จึงได้จัดทำโครงการรณรงค์ป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดขึ้น ตามยุทธศาสตร์ของโครงการ เยาวชน HSY สร้างสรรค์ห่างไกลยาเสพติด เพื่อจัดกิจกรรมรณรงค์ในระดับโรงเรียน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อส่งเสริม/สนับสนุน ให้ชมรม TO BE NUMBER ONE มีการจัดกิจกรรมพัฒนาพฤติกรรมในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด
  2. เพื่อจัดกิจกรรมส่งเสริมให้นักเรียนรู้จักใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์และห่างไกลยาเสพติด
  3. เพื่อให้ความรู้แก่นักเรียนในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 91
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. นักเรียนได้รับโอกาสการพัฒนาเพื่อเสริมสร้างทักษะเชิงบวกในการป้องกันสารเสพติด
    2. นักเรียนได้เพิ่มพูนทักษะ การฝึกทำงานเป็นทีม การแก้ไขปัญหา       3. นักเรียนโรงเรียนบ้านหาดทรายยาวมีความตระหนักถึงโทษภัยของยาเสพติด

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อส่งเสริม/สนับสนุน ให้ชมรม TO BE NUMBER ONE มีการจัดกิจกรรมพัฒนาพฤติกรรมในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด
    ตัวชี้วัด : นักเรียนร้อยละ 80 มีการจัดกิจกรรมพัฒนาพฤติกรรมในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด

     

    2 เพื่อจัดกิจกรรมส่งเสริมให้นักเรียนรู้จักใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์และห่างไกลยาเสพติด
    ตัวชี้วัด : นักเรียนร้อยละ 80 รู้จักใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์และห่างไกลยาเสพติด

     

    3 เพื่อให้ความรู้แก่นักเรียนในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด
    ตัวชี้วัด : นักเรียนร้อยละ 80 มีความรู้ความเข้าใจและตระหนักถึงโทษของยาเสพติด

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 91
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 91
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริม/สนับสนุน ให้ชมรม TO BE NUMBER ONE มีการจัดกิจกรรมพัฒนาพฤติกรรมในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด (2) เพื่อจัดกิจกรรมส่งเสริมให้นักเรียนรู้จักใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์และห่างไกลยาเสพติด (3) เพื่อให้ความรู้แก่นักเรียนในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการเยาวชน HSY สร้างสรรค์ห่างไกลยาเสพติด จังหวัด สตูล

    รหัสโครงการ

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางอรุณี ประมาณ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด