กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะโด


“ โครงการฝากครรภ์คุณภาพเพื่อมารดาและทารกสุขภาพดี ครอบครัวสุขภาพตำบลปะโด ปี 2566 ”

ตำบลปะโด อำเภอมายอ จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นางสาวมารีย๊ะ อามูบาซา

ชื่อโครงการ โครงการฝากครรภ์คุณภาพเพื่อมารดาและทารกสุขภาพดี ครอบครัวสุขภาพตำบลปะโด ปี 2566

ที่อยู่ ตำบลปะโด อำเภอมายอ จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 66-L3004-02-017 เลขที่ข้อตกลง 66-L3004-02-017

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 24 พฤษภาคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการฝากครรภ์คุณภาพเพื่อมารดาและทารกสุขภาพดี ครอบครัวสุขภาพตำบลปะโด ปี 2566 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปะโด อำเภอมายอ จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะโด ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการฝากครรภ์คุณภาพเพื่อมารดาและทารกสุขภาพดี ครอบครัวสุขภาพตำบลปะโด ปี 2566



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการฝากครรภ์คุณภาพเพื่อมารดาและทารกสุขภาพดี ครอบครัวสุขภาพตำบลปะโด ปี 2566 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปะโด อำเภอมายอ จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 66-L3004-02-017 ระยะเวลาการดำเนินงาน 24 พฤษภาคม 2566 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 18,800.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะโด เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

งานอนามัยแม่และเด็กเป็นบริการสุขภาพขั้นพื้นฐานที่สำคัญของการพัฒนาคุณภาพประชากร ซึ่งเริ่มตั้งแต่การดูแลครรภ์ เพื่อให้การตั้งครรภ์และการคลอดอย่างมีคุณภาพ มารดาและทารกปลอดภัยและมีสุขภาพสมบูรณ์แข็งแรง ต่อเนื่องถึงการให้การดูแลเด็กในช่วงปฐมวัย ซึ่งเป็นทรัพยากรอันทรงคุณค่าและเป็นอนาคตของชาติ ควรให้การเลี้ยงดูให้เจริญเติบโตและมีพัฒนาการที่สมวัย ทั้งร่างกาย  จิตใจ อารมณ์ สังคม และสติปัญญา การส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ พัฒนาชุมชนและสังคมให้สนับสนุนและส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่จากการวิเคราะห์สถานการณ์งานอนามัยแม่และเด็กของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปะโด จากข้อมูลแสดงถึงสภาพปัญหาของงานอนามัยแม่และเด็กในปี 2565 ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปะโด พบว่าหญิงตั้งครรภ์ จำนวน 98 คน มีภาวะเสี่ยงในการตั้งครรภ์ ภาวะซีด จำนวน 42 ราย คิดเป็นร้อยละ 42.85 ซึ่งเกณฑ์ต้องไม่เกินร้อยละ 10 มาฝากครรภ์ก่อน 3 เดือน จำนวน 68 คน คิดเป็นร้อยละ 69.38 ซึ่งเกณฑ์ต้องเกินร้อยละ 90 และหญิงหลังคลอด จำนวน 92 คน คลอดทารกน้ำหนักต่ำกว่า 2,500 กรัม จำนวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ 2.17 มาฝากครรภ์ครบ 5 ครั้ง จำนวน 85 คนคิดเป็นร้อยละ 92.39 สาเหตุเกิดจากการที่ขณะตั้งครรภ์มารดามีน้ำหนักตัวตลอดการตั้งครรภ์ต่ำกว่าเกณฑ์ แนวทางการดูแลและป้องกันการเกิดปัญหาดังกล่าว คือต้องให้การดูแลที่มีคุณภาพมีมาตรฐาน หญิงตั้งครรภ์ได้รับบริการฝากครรภ์คุณภาพ และเสริมทักษะการดูแลหลังคลอด และทารกควรได้รับการเลี้ยงลูกด้วยนมมารดาอย่างเดียวอย่างน้อย 6 เดือน ได้รับการอบรมเลี้ยงดูที่ตอบสนองความต้องการของเด็กทุกด้านตามวัย การมีส่วนร่วมของชุมชนมีเครือข่ายที่เข้มแข็ง งานอนามัยแม่และเด็กโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปะโด ได้ตระหนักถึงความสำคัญของการพัฒนาคุณภาพแม่และเด็กแบบองค์รวมให้ประสบความสำเร็จและมีคุณภาพจึงได้จัดทำ “โครงการฝากครรภ์คุณภาพเพื่อมารดาและทารกสุขภาพดีครอบครัวสุขภาพตำบลปะโด ปี 2566” ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดอบรมให้ความรู้แก่หญิงตั้งครรภ์/สามี ในเรื่องความพร้อมของหญิงตั้งครรภ์ในช่วง 3 เดือนแรกและหลังคลอด

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 100
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.หญิงตั้งครรภ์ในช่วง 3 เดือนแรก มีสุขภาพอนามัยที่ดี ไม่มีภาวะแทรกซ้อน 2.หญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ครั้งแรก ก่อนอายุครรภ์ 12 สัปดาห์


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 100
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดอบรมให้ความรู้แก่หญิงตั้งครรภ์/สามี ในเรื่องความพร้อมของหญิงตั้งครรภ์ในช่วง 3 เดือนแรกและหลังคลอด

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการฝากครรภ์คุณภาพเพื่อมารดาและทารกสุขภาพดี ครอบครัวสุขภาพตำบลปะโด ปี 2566 จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 66-L3004-02-017

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวมารีย๊ะ อามูบาซา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด