กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.หนองบ่อ


“ โครงการผู้สูงอายุ ร่วมใจสร้างพิมเสนดูแลตนเองและครัวเรือน ”

ตำบลหนองบ่อ อำเภอย่านตาขาว จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นายพหล พรหมมี

ชื่อโครงการ โครงการผู้สูงอายุ ร่วมใจสร้างพิมเสนดูแลตนเองและครัวเรือน

ที่อยู่ ตำบลหนองบ่อ อำเภอย่านตาขาว จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 66-L1510-02-22 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 30 มิถุนายน 2566 ถึง 30 มิถุนายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการผู้สูงอายุ ร่วมใจสร้างพิมเสนดูแลตนเองและครัวเรือน จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลหนองบ่อ อำเภอย่านตาขาว จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.หนองบ่อ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการผู้สูงอายุ ร่วมใจสร้างพิมเสนดูแลตนเองและครัวเรือน



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการผู้สูงอายุ ร่วมใจสร้างพิมเสนดูแลตนเองและครัวเรือน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลหนองบ่อ อำเภอย่านตาขาว จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 66-L1510-02-22 ระยะเวลาการดำเนินงาน 30 มิถุนายน 2566 - 30 มิถุนายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 14,750.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.หนองบ่อ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

เศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาชี้ถึงแนวทางการดำรงอยู่ และปฏิบัติตนของประชาชนในทุกระดับ ตั้งแต่ระดับครอบครัว ระดับชุมชนจนถึงระดับรัฐ ทั้งในการพัฒนา และบริหารประเทศให้ดำเนินไปในทางสายกลาง โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจเพื่อให้ก้าวทันต่อโลกยุคโลกาภิวัฒน์ ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงนี้เป็นกรอบแนวความคิด และทิศทางการพัฒนาระบบเศรษฐกิจมหภาคของไทย เพื่อมุ่งสู่การพัฒนาที่สมดุลยั่งยืน และมีภูมิคุ้มกัน เพื่อความอยู่ดีมีสุข มุ่งสู่สังคมที่มีความสุขอย่างยั่งยืน หลักแนวคิดของเศรษฐกิจพอเพียง การพัฒนาตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง คือการพัฒนาที่ตั้งอยู่บนพื้นฐานของทางสายกลาง และความไม่ประมาท โดยคำนึงถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล การสร้างภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว ตลอดจนใช้ความรู้ ความรอบคอบ และคุณธรรม ประกอบการวางแผน การตัดสินใจ ประกอบกับการดำเนินชีวิตประจำวัน การนำสารสกัดจากพืชสมุนไพรมาใช้ประโยชน์หรือนำมาแปรรูปให้เป็นสารสกัดมาใช้เป็นส่วนผสมในการผลิต เช่น ยาสมุนไพรประเภทสูดดม พิมเสนน้ำ ประเภทผลิตภัณฑ์ที่ใช้เป็นส่วนผสมในการทำผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพในรูปแบบต่างๆ ให้มีสรรพคุณและคุณสมบัติที่ดีตามต้องการและปลอดภัยจากสารพิษตกค้าง ประชาชนได้ตระหนักถึงความสำคัญในการนำพืชสมุนไพรในพื้นที่ที่สามารถนำมาเป็นสารสกัดได้ซึ่งจะส่งผลทั้งในด้านการพัฒนาคุณภาพชีวิตและความเป็นอยู่ให้ดีขึ้น ทางชมรมผู้สูงอายุ รพ.สต.บ้านทุ่งเกาะญวน จึงได้จัดทำโครงการผู้สูงอายุร่วมใจ สร้างพิมเสนดูแลตนเองและครัวเรือน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้สมาชิกในชมรมผู้สูงอายุ รพ.สต.บ้านทุ่งเกาะญวน เข้าร่วมกิจกรรม ร้อยละ 100 2. เพื่อให้สมาชิกในชมรมผู้สูงอายุ รพ.สต.บ้านทุ่งเกาะญวน มีความรู้ความเข้าใจในการฝึกทักษะการทำพิมเสนน้ำเพื่อดูแลตนเองเวลายามเจ็บป่วย 3. เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุพึ่งพาตนเองด้านสุขภาพด้วยการใช้พิมเสนน้ำในการรักษาอาการป่วยเบื้องต้น (พิมเสนน้ำที่ตนเองเรียนรู้และผลิตเองจากการเข้าร่วมกิจกรรมคนละ 1 ขวด)

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการทำพิมเสนให้กับกลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 10
กลุ่มผู้สูงอายุ 40
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. สมาชิกในชมรมผู้สูงอายุ รพ.สต.บ้านทุ่งเกาะญวน และอสม. เข้าร่วมกิจกรรม ร้อยละ 100
  2. สมาชิกในชมรมผู้สูงอายุ รพ.สต.บ้านทุ่งเกาะญวน และอสม. มีความรู้ความเข้าใจและการทำพิมเสนน้ำ มากกว่าร้อยละ 80
  3. ผู้สูงอายุมีการพึ่งพาตนเองด้านสุขภาพ ด้วยการใช้พิมเสนในการรักษาอาการป่วยเบื้องต้น (พิมเสนที่ตนเองเรียนรู้และผลิตเองจากการเข้าร่วมกิจกรรมคนละ 1 ขวด)

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

กลุ่มเป้าหมายได้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 50 คน คิดเป็นร้อยละ 100 ซึ่งกลุ่มเป้าหมายได้เข้าร่วมโครงการผู้สูงอายุร่วมใจ สร้างพิมเสนดูแลตนเองและตามกำหนดการจัดกิจกรรมอย่างครบถ้วน

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อให้สมาชิกในชมรมผู้สูงอายุ รพ.สต.บ้านทุ่งเกาะญวน เข้าร่วมกิจกรรม ร้อยละ 100 2. เพื่อให้สมาชิกในชมรมผู้สูงอายุ รพ.สต.บ้านทุ่งเกาะญวน มีความรู้ความเข้าใจในการฝึกทักษะการทำพิมเสนน้ำเพื่อดูแลตนเองเวลายามเจ็บป่วย 3. เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุพึ่งพาตนเองด้านสุขภาพด้วยการใช้พิมเสนน้ำในการรักษาอาการป่วยเบื้องต้น (พิมเสนน้ำที่ตนเองเรียนรู้และผลิตเองจากการเข้าร่วมกิจกรรมคนละ 1 ขวด)
ตัวชี้วัด :

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 10
กลุ่มผู้สูงอายุ 40
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้สมาชิกในชมรมผู้สูงอายุ รพ.สต.บ้านทุ่งเกาะญวน เข้าร่วมกิจกรรม ร้อยละ 100 2. เพื่อให้สมาชิกในชมรมผู้สูงอายุ รพ.สต.บ้านทุ่งเกาะญวน มีความรู้ความเข้าใจในการฝึกทักษะการทำพิมเสนน้ำเพื่อดูแลตนเองเวลายามเจ็บป่วย 3. เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุพึ่งพาตนเองด้านสุขภาพด้วยการใช้พิมเสนน้ำในการรักษาอาการป่วยเบื้องต้น (พิมเสนน้ำที่ตนเองเรียนรู้และผลิตเองจากการเข้าร่วมกิจกรรมคนละ 1 ขวด)

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการทำพิมเสนให้กับกลุ่มเป้าหมาย

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการผู้สูงอายุ ร่วมใจสร้างพิมเสนดูแลตนเองและครัวเรือน จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 66-L1510-02-22

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายพหล พรหมมี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด