กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านนา


“ โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลบ้านนา ประจำปี 2566 ”

ตำบลบ้านนา อำเภอศรีนครินทร์ จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
ฝ่ายเลขานุการกองทุนฯ

ชื่อโครงการ โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลบ้านนา ประจำปี 2566

ที่อยู่ ตำบลบ้านนา อำเภอศรีนครินทร์ จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ L3363-2566-4001 เลขที่ข้อตกลง 022/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลบ้านนา ประจำปี 2566 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ้านนา อำเภอศรีนครินทร์ จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านนา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลบ้านนา ประจำปี 2566



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลบ้านนา ประจำปี 2566 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ้านนา อำเภอศรีนครินทร์ จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ L3363-2566-4001 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2565 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 107,765.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านนา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

 

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ และองค์กรผู้รับทุน
  2. เพื่อเพิ่มจำนวนโครงการที่ดีและมีรายงานผลการดำเนินงานดี
  3. เพื่อให้มีประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุน/อนุกรรมการ ครบตามประกาศ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมที่ 1 พิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
  2. กิจกรรมที่ 2 พัฒนาศักยภาพคณะกรรมการ ที่ปรึกษาคณะกรรมการ อนุกรรมการ คณะทำงาน และเจ้าหน้าที่ผู้เกี่ยวข้อง
  3. ประชุมคณะอนุกรรมการกองทุน ครั้งที่ 4/2565
  4. ประชุมคณะกรรมการและที่ปรึกษากองทุน ครั้งที่ 4/2565
  5. ประชุมคณะอนุกรรมการกองทุน ครั้งที่ 1/2566
  6. ประชุมคณะอนุกรรมการ LTC ครั้งที่ 1/2566
  7. ประชุมคณะกรรมการและที่ปรึกษากองทุน ครั้งที่ 1/2566
  8. ประชุมคณะอนุกรรมการกองทุน ครั้งที่ 2/2566
  9. ประชุมคณะกรรมการและที่ปรึกษากองทุน ครั้งที่ 2/2566
  10. ประชุมคณะอนุกรรมการกองทุน ครั้งที่ 3/2566
  11. ประชุมคณะกรรมการและที่ปรึกษากองทุน ครั้งที่ 3/2566
  12. ประชุมคณะอนุกรรมการ LTC ครั้งที่ 2/2566
  13. พัฒนาศักยภาพคณะกรรมการ ที่ปรึกษาคณะกรรมการ อนุกรรมการ คณะทำงาน และเจ้าหน้าที่ผู้เกี่ยวข้อง

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] 40

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. คณะกรรมการ อนุกรรมการ คณะทำงานและเจ้าหน้าที่ประจำกองทุนฯ มีความรู้ความเข้าใจ
      เรื่องการบริหารจัดการงานกองทุนฯ เพิ่มมากขึ้น
  2. กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลบ้านนา สามารถบริหารจัดการกองทุนฯ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ประชุมคณะอนุกรรมการกองทุน ครั้งที่ 4/2565

วันที่ 4 พฤศจิกายน 2565 เวลา 13:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมคณะอนุกรรมการกองทุน จำนวน 9 คน
มีผู้เข้าประชุม จำนวน 7 คน
งบประมาณ
1. ค่าตอบแทนคระอนุกรรมการกองทุน จำนวน 7 คนๆ ละ 300 บาท เป็นเงิน 2,100 บาท
2. ค่าอาหารว่างพร้อมเครื่องดื่ม จำนวน 9 คนๆ ละ 1 มื้อๆ ละ 25 บาท เป็นเงิน 225 บาท
รวมเป็นเงิน 2,325 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลผลิต
1. คณะอนุกรรมการเข้าร่วมประชุม จำนวน 7 คน

ผลลัพธ์
1. คณะอนุกรรมการพิจารณากลั่นกรองแผนงานโครงการ ประเภท 4 และรายงานการเงินประจำไตรมาส

 

9 0

2. ประชุมคณะกรรมการและที่ปรึกษากองทุน ครั้งที่ 4/2565

วันที่ 15 พฤศจิกายน 2565 เวลา 13:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมคณะกรรมการกองทุน จำนวน 20 คน
มีผู้เข้าประชุม จำนวน 17 คน
งบประมาณ
1. ค่าตอบแทนคณะกรรมการกองทุน จำนวน 17 คนๆ ละ 400 บาท เป็นเงิน 6,800 บาท
2. ค่าอาหารว่างพร้อมเครื่องดื่ม จำนวน 20 คนๆ ละ 1 มื้อๆ ละ 25 บาท เป็นเงิน 500 บาท
รวมเป็นเงิน 7,300 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลผลิต
1. คณะกรรมการมาเข้าร่วมประชุม จำนวน 17 คน

ผลลัพธ์
1. คณะกรรมการพิจารณาแผนงานโครงการ ประเภท 4 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2566 และรายงานการเงินประจำไตรมาส

 

20 0

3. ประชุมคณะอนุกรรมการกองทุน ครั้งที่ 1/2566

วันที่ 20 มกราคม 2566 เวลา 13:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมคณะอนุกรรมการกองทุน จำนวน 9 คน
มีผู้เข้าประชุม จำนวน 8 คน
งบประมาณ
1. ค่าตอบแทนคณะอนุกรรมการกองทุน จำนวน 8 คนๆ ละ 300 บาท เป็นเงิน 2,400 บาท
2. ค่าอาหารว่างพร้อมเครื่องดื่ม จำนวน 9 คนๆ ละ 1 มื้อๆ ละ 25 บาท เป็นเงิน 225 บาท
รวมเป็นเงิน 2,625 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลผลิต
1. คณะอนุกรรมการเข้าร่วมประชุม จำนวน 8 คน

ผลลัพธ์
1. คณะอนุกรรมการพิจารณากลั่นกรองแผนงานโครงการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 และรายงานการเงินประจำไตรมาส

 

9 0

4. ประชุมคณะอนุกรรมการ LTC ครั้งที่ 1/2566

วันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2566 เวลา 13:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมคณะอนุกรรมการ LTC จำนวน 10 คน
มีผู้เข้าประชุม จำนวน 8 คน
งบประมาณ
1. ค่าตอบแทนคณะอนุกรรมการกองทุน จำนวน 8 คนๆ ละ 300 บาท เป็นเงิน 2,400 บาท
2. ค่าอาหารว่างพร้อมเครื่องดื่ม จำนวน 10 คนๆ ละ 1 มื้อๆ ละ 25 บาท เป็นเงิน 250 บาท
รวมเป็นเงิน 2,650 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลผลิต
1. คณะอนุกรรมการเข้าร่วมประชุม จำนวน 8 คน

ผลลัพธ์
1. คณะอนุกรรมการ LTC พิจารณากลั่นกรองแผนงานโครงการและแผนการดูแลผู้ป้วย Care Plan

 

10 0

5. ประชุมคณะกรรมการและที่ปรึกษากองทุน ครั้งที่ 1/2566

วันที่ 15 มีนาคม 2566 เวลา 13:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมคณะกรรมการกองทุน จำนวน 20 คน
มีผู้เข้าประชุม จำนวน 15 คน
งบประมาณ
1. ค่าตอบแทนคณะกรรมการกองทุน จำนวน 15 คนๆ ละ 400 บาท เป็นเงิน 6,000 บาท
2. ค่าอาหารว่างพร้อมเครื่องดื่ม จำนวน 20 คนๆ ละ 1 มื้อๆ ละ 25 บาท เป็นเงิน 500 บาท
รวมเป็นเงิน 6,500 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. คณะกรรมการมาเข้าร่วมประชุม จำนวน 15 คน

ผลลัพธ์
1. คณะกรรมการพิจารณาแผนงานโครงการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2566 และรายงานการเงินประจำไตรมาส

 

20 0

6. ประชุมคณะอนุกรรมการกองทุน ครั้งที่ 2/2566

วันที่ 15 พฤษภาคม 2566 เวลา 13:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมคณะอนุกรรมการกองทุน จำนวน 9 คน
มีผู้เข้าประชุม จำนวน 9 คน
งบประมาณ
1. ค่าตอบแทนคณะอนุกรรมการกองทุน จำนวน 9 คนๆ ละ 300 บาท เป็นเงิน 2,700 บาท
2. ค่าอาหารว่างพร้อมเครื่องดื่ม จำนวน 9 คนๆ ละ 1 มื้อๆ ละ 25 บาท เป็นเงิน 225 บาท
รวมเป็นเงิน 2,925 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลผลิต
1. คณะอนุกรรมการเข้าร่วมประชุม จำนวน 9 คน

ผลลัพธ์
1. คณะอนุกรรมการพิจารณากลั่นกรองแผนงานโครงการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 และรายงานการเงินประจำไตรมาส

 

9 0

7. ประชุมคณะกรรมการและที่ปรึกษากองทุน ครั้งที่ 2/2566

วันที่ 14 กรกฎาคม 2566 เวลา 13:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมคณะกรรมการกองทุน จำนวน 20 คน
มีผู้เข้าประชุม จำนวน 16 คน
งบประมาณ
1. ค่าตอบแทนคณะกรรมการกองทุน จำนวน 16 คนๆ ละ 400 บาท เป็นเงิน 6,400 บาท
2. ค่าอาหารว่างพร้อมเครื่องดื่ม จำนวน 20 คนๆ ละ 1 มื้อๆ ละ 25 บาท เป็นเงิน 500 บาท
รวมเป็นเงิน 6,900 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. คณะกรรมการมาเข้าร่วมประชุม จำนวน 16 คน

ผลลัพธ์
1. คณะกรรมการพิจารณาแผนงานโครงการระหว่างปี ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2566 และรายงานการเงินประจำไตรมาส

 

20 0

8. ประชุมคณะกรรมการและที่ปรึกษากองทุน ครั้งที่ 3/2566

วันที่ 18 กันยายน 2566 เวลา 13:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมคณะกรรมการกองทุน จำนวน 20 คน
มีผู้เข้าประชุม จำนวน 18 คน
งบประมาณ
1. ค่าตอบแทนคณะกรรมการกองทุน จำนวน 18 คนๆ ละ 400 บาท เป็นเงิน 7,200 บาท
2. ค่าอาหารว่างพร้อมเครื่องดื่ม จำนวน 20 คนๆ ละ 1 มื้อๆ ละ 25 บาท เป็นเงิน 500 บาท
รวมเป็นเงิน 7,700 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. คณะกรรมการมาเข้าร่วมประชุม จำนวน 18 คน

ผลลัพธ์
1. คณะกรรมการพิจารณาแผนงานโครงการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2566 และรายงานการเงินประจำไตรมาส

 

20 0

9. พัฒนาศักยภาพคณะกรรมการ ที่ปรึกษาคณะกรรมการ อนุกรรมการ คณะทำงาน และเจ้าหน้าที่ผู้เกี่ยวข้อง

วันที่ 21 กันยายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการ ที่ปรึกษาคณะกรรมการ คณะอนุกรรมการ คณะทำงานและเจ้าหน้าที่ผู้เกี่ยวข้อง ภายใต้โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลบ้านนา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ในระหว่างวันที่ 21 – 22 กันยายน 2566 ณ ริมเล บูติค โฮมสเตย์ ตำบลท่าข้าม อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการ ที่ปรึกษาคณะกรรมการ คณะอนุกรรมการ คณะทำงานและเจ้าหน้าที่ผู้เกี่ยวข้องให้มีความรู้ ความเข้าใจในกระบวนการทำงานและการบริหารจัดการกองุทนฯ และเพื่อส่งเสริม สนับสนุนการดำเนินงาน เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของกองทุนฯ ดังนี้
1. ค่าป้ายโครงการ ขนาด 1 x 3 เมตรๆ ละ 200 บาท จำนวน 1 ป้าย         เป็นเงิน      600 บาท
2. ค่าสมนาคุณวิทยากร จำนวน 11 ชั่วโมงๆ ละ 600 บาท       เป็นเงิน  6,600 บาท
3. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 26 คนๆ ละ 3 มื้อๆ ละ 50 บาท เป็นเงิน  3,900 บาท
4. ค่าอาหารกลางวัน วันแรก จำนวน 26 คนๆ ละ 1 มื้อๆ ละ 100 บาท เป็นเงิน  2,600 บาท
5. ค่าอาหารกลางวัน วันที่ 2 จำนวน 26 คนๆ ละ 1 มื้อๆ ละ 200 บาท เป็นเงิน  5,200 บาท
6. ค่าอาหารเย็น จำนวน 26 คนๆ ละ 1 มื้อๆ ละ 200 บาท         เป็นเงิน  5,200 บาท
7. ค่าอาหารเช้า จำนวน 26 คนๆ ละ 1 มื้อๆ ละ 100 บาท เป็นเงิน  2,600 บาท
8. ค่าที่พัก จำนวน 13 ห้องๆ ละ 1 คืนๆ ละ 1,200 บาท         เป็นเงิน 15,600 บาท
9. ค่าจ้างเหมารถ                         เป็นเงิน 13,345 บาท
รวมเป็นเงิน  55,645  บาท (-ห้าหมื่นห้าพันหกร้อยสี่สิบห้าบาทถ้วน-)

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลผลิต
1.คณะกรรมการ ที่ปรึกษา คณะอนุกรรมการ คณะทำงานและเจ้าหน้าที่ผู้เกี่ยวข้องเข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 26 คน

ผลลัพธ์
1. คณะกรรมการ อนุกรรมการ คณะทำงานและเจ้าหน้าที่ประจำกองทุนฯ มีความรู้ ความเข้าใจ ในกระบวนการทำงานและการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลบ้านนา
2. กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลบ้านนา สามารถส่งเสริม สนับสนุน การดำเนินงานและเพิ่มประสิทธิภาพ

 

40 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ และองค์กรผู้รับทุน
ตัวชี้วัด : มีจำนวนคณะกรรมการบริหารฯได้รับการพัฒนาศักยภาพฯ โครงการด้านสุขภาพ(คน)
40.00 40.00

 

2 เพื่อเพิ่มจำนวนโครงการที่ดีและมีรายงานผลการดำเนินงานดี
ตัวชี้วัด : จำนวนโครงการที่สามารถติดตามและรายงานผลการดำเนินงานได้สำเร็จ(โครงการ)
25.00 25.00

 

3 เพื่อให้มีประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุน/อนุกรรมการ ครบตามประกาศ
ตัวชี้วัด : จำนวนครั้งของประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุน/อนุกรรมการ ครบตามประกาศ
8.00 8.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 40
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] 40

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ และองค์กรผู้รับทุน (2) เพื่อเพิ่มจำนวนโครงการที่ดีและมีรายงานผลการดำเนินงานดี (3) เพื่อให้มีประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุน/อนุกรรมการ ครบตามประกาศ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1 พิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม (2) กิจกรรมที่ 2 พัฒนาศักยภาพคณะกรรมการ ที่ปรึกษาคณะกรรมการ อนุกรรมการ คณะทำงาน และเจ้าหน้าที่ผู้เกี่ยวข้อง (3) ประชุมคณะอนุกรรมการกองทุน ครั้งที่ 4/2565 (4) ประชุมคณะกรรมการและที่ปรึกษากองทุน ครั้งที่ 4/2565 (5) ประชุมคณะอนุกรรมการกองทุน ครั้งที่ 1/2566 (6) ประชุมคณะอนุกรรมการ LTC ครั้งที่ 1/2566 (7) ประชุมคณะกรรมการและที่ปรึกษากองทุน ครั้งที่ 1/2566 (8) ประชุมคณะอนุกรรมการกองทุน ครั้งที่ 2/2566 (9) ประชุมคณะกรรมการและที่ปรึกษากองทุน ครั้งที่ 2/2566 (10) ประชุมคณะอนุกรรมการกองทุน ครั้งที่ 3/2566 (11) ประชุมคณะกรรมการและที่ปรึกษากองทุน ครั้งที่ 3/2566 (12) ประชุมคณะอนุกรรมการ LTC ครั้งที่ 2/2566 (13) พัฒนาศักยภาพคณะกรรมการ ที่ปรึกษาคณะกรรมการ อนุกรรมการ คณะทำงาน และเจ้าหน้าที่ผู้เกี่ยวข้อง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลบ้านนา ประจำปี 2566 จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ L3363-2566-4001

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( ฝ่ายเลขานุการกองทุนฯ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด