กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าชะมวง


“ โครงการส่งเสริมสุขภาพหญิงมีครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยง ประจำปีงบประมาณ 2566 ”

ตำบลท่าชะมวง อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางอาซียะ เอียดหมาน

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพหญิงมีครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยง ประจำปีงบประมาณ 2566

ที่อยู่ ตำบลท่าชะมวง อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง 1/66

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมสุขภาพหญิงมีครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยง ประจำปีงบประมาณ 2566 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่าชะมวง อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าชะมวง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพหญิงมีครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยง ประจำปีงบประมาณ 2566



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพหญิงมีครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยง ประจำปีงบประมาณ 2566 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลท่าชะมวง อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2566 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 36,480.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าชะมวง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การฝากครรภ์เป็นสิ่งที่สำคัญและมีประโยชน์ต่อหญิงตั้งครรภ์ เนื่องจากระยะตั้งครรภ์เป็นจุดเริ่มต้นที่มีความสำคัญต่อการให้กำเนิดทารก ให้มีความสมบูรณ์ทั้งด้านร่างกาย และสติปัญญา แม้ว่าการตั้งครรภ์ของสตรีจะเป็นภาวะที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ แต่หากหญิงตั้งครรภ์ไม่ได้รับการฝากครรภ์ในช่วงเวลาที่เหมาะสม และไม่ได้รับการดูแลขณะตั้งครรภ์หญิงตั้งครรภ์อาจจะมีภาวะเสี่ยงหรือได้รับอันตรายจากการตั้งครรภ์ และการคลอดมากกว่า และรุนแรงกว่าหญิงตั้งครรภ์ที่ได้รับการตรวจครรภ์และดูแลครรภ์อย่างถูกต้อง ต่อเนื่อง และทันเวลา ซึ่งภาวะเสี่ยงต่างๆ อาจมีอันตรายถึงชีวิตของมารดาหรือทารกได้นอกจากนี้ระยะตั้งครรภ์ยังเป็นภาวะที่หญิงตั้งครรภ์มีการเปลี่ยนแปลงอย่างมาก ไม่ว่าจะเป็นด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์และสังคม ทำให้หญิงตั้งครรภ์มีความไม่สุขสบาย และมีความวิตกกังวล ดังนั้นหญิงตั้งครรภ์จึงมีความจำเป็นที่จะต้องเรียนรู้เกี่ยวกับการดูแลตนเอง และทารกในครรภ์ เข้าใจถึงการเปลี่ยนแปลงของร่างกายตั้งแต่ระยะตั้งครรภ์ ระยะคลอด และระยะหลังคลอด รวมทั้งเตรียมรับบทบาทการเป็นมารดาที่ดีมีคุณภาพ สามารถเลี้ยงดูบุตรด้วยนมมารดาภายหลังคลอดได้อย่างถูกต้อง
ปัจจุบันหญิงตั้งครรภ์ในเขตพื้นที่รับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่ามะปราง ยังมีอีกหลายปัญหาที่ควรต้องได้รับการแก้ไข เช่น พฤติกรรมการดูแลด้านสุขภาพที่ไม่ถูกต้องของหญิงตั้งครรภ์ การฝากครรภ์ไม่ครบ ๕ ครั้งตามเกณฑ์มาตรฐาน และหญิงตั้งครรภ์มารับการฝากครรภ์ครั้งแรกเมื่ออายุครรภ์มากกว่า ๑๒ สัปดาห์ ซึ่งปัญหาที่กล่าวมาข้างต้น เป็นปัจจัยที่สำคัญที่ก่อให้เกิดภาวะเสี่ยงต่างๆ ที่อาจจะมีอันตรายถึงชีวิตของมารดาหรือทารกได้ จากการดำเนินงานอนามัยแม่ และเด็กของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านท่ามะปราง ของปี 2563 ,2564 และ2565 พบว่า มีหญิงตั้งครรภ์มารับบริการฝากครรภ์ที่สถานบริการจำนวน 123, 122 และ 81 คน (ข้อมูลจาก HDC report กลุ่มรายงานมาตรฐาน สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดสงขลา, 22 เมษายน 2566) และพบหญิงตั้งครรภ์มีความเสี่ยงที่จะเกิดภาวะเสี่ยงต่างๆ กับมารดาและทารกในครรภ์ ของปี 2563 ,2564 และ2565 จำนวน 12, 15 และ 9 คน ตามลำดับ ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านท่ามะปรางได้ตระหนักถึงความสำคัญดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพในหญิงมีครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยงในเขตรับผิดชอบของ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านท่ามะปราง ประจำปีงบประมาณ 2566 ขึ้น เพื่อส่งเสริมโภชนาการแม่ และเด็กเชิงรุก เน้นให้หญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์เร็วขึ้น เป็นการดูแลกลุ่มเสี่ยงในการตั้งครรภ์ ลดโอกาสในการเกิดภาวะแทรกซ้อน ส่งเสริมโภชนาการให้มารดา และทารกได้รับสารอาหารที่มีประโยชน์ ส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ และพัฒนาคุณภาพชีวิตของแม่ และเด็กได้มากขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ความรู้ในการดูแลสุขภาพตนเองหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยง
  2. เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยงได้รับอาหารที่มีโปรตีนและแคลเซี่ยมเพียงพอ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

     


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อให้ความรู้ในการดูแลสุขภาพตนเองหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยง
    ตัวชี้วัด : หญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยงมีความรู้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70
    10.00

     

    2 เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยงได้รับอาหารที่มีโปรตีนและแคลเซี่ยมเพียงพอ
    ตัวชี้วัด : หญิงตั้งครรภ์ที่มีความเสี่ยงจำนวน 10 คน
    10.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ความรู้ในการดูแลสุขภาพตนเองหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยง (2) เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยงได้รับอาหารที่มีโปรตีนและแคลเซี่ยมเพียงพอ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการส่งเสริมสุขภาพหญิงมีครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยง ประจำปีงบประมาณ 2566 จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางอาซียะ เอียดหมาน )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด