กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบการติดตามประเมินผลการดำเนินกิจกรรมของโครงการ (Process Evaluation)

กิจกรรมระยะเวลาเป้าหมาย/วิธีการผลการดำเนินงานปัญหา/อุปสรรค/แนวทางแก้ไข
ตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริง
กิจกรรมที่ 1 1.1 จัดซื้อตัวอย่าง และชุดตรวจ 1.2 ตรวจสารปนเปื้อนจากตัวอย่างอาหาร ในตลาดสด เทศบาลตำบลทุ่งหว้า กิจกรรมที่ 2 อบรมให้ความรู้แก่ผู้ประกอบการในตลาดสดเทศบาลตำบลทุ่งหว้า 1 มิ.ย. 2566 2 ต.ค. 2566

 

  1. วิธีดำเนินการ (ออกแบบให้ละเอียด)
        1.1 ขั้นตอนวางแผนงาน
            1.1.1 เขียนโครงการเสนอต่อคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลทุ่งหว้าเพื่ออนุมัติโครงการ         1.1.2 เสนอแผนการดำเนินกิจกรรมขอรับการสนับสนุน     1.2 ขั้นตอนการดำเนินงาน
    1.2.1 ดำเนินงานตามโครงการที่ได้รับการอนุมัติ

- ตรวจสารปนเปื้อน 4 ชนิดในสารอาหาร ได้แก่ สารฟอกขาว ฟอร์มาลิน สารกันรา และบอแรกซ์
เป็นระยะ 1 ครั้งต่อ 6 เดือน - ตรวจยาฆ่าแมลงในวัตถุดิบประเภทผักผลไม้เป็นระยะ 1 ครั้งต่อ 6 เดือน 1.2.2 อบรมให้ความรู้แก่ผู้ประกอบการ 1.2.3 ติดตามผลการดำเนินงาน ปัญหา และอุปสรรค และข้อจำกัดในการดำเนินงาน
1.2.4 ประเมินผลการดำเนินงาน 1.2.5 สรุปผลการดำเนินงาน

 

๑. ผลการดำเนินงาน
จากการเก็บตัวอย่างอาหารจากตลาดสดเทศบาลทุ่งหว้า จำนวน 200 ตัวอย่าง โดยมีการตรวจทั้งหมด 2 ครั้ง ครั้งละ 100 ตัวอย่าง แบ่งการตรวจสารเคมีออกเป็น 5 ชนิด ได้แก่ สารฟอร์มาลีน สารกันรา สารบอแรก์ สารฟอกขาว และสารเคมีปนเปื้อนในผัก ได้ผลการวิเคราะห์ ดังนี้ การเก็บตัวอย่างครั้งที่ 1 จำนวน 100 ตัวอย่าง ผ่าน 93 ตัวอย่าง ไม่ผ่าน 7 ตัวอย่าง คิดเป็นร้อยละ 93 และร้อยละ 7 ตามลำดับ
การเก็บตัวอย่างครั้งที่ 2 จำนวน 100 ตัวอย่าง ผ่าน 91 ตัวอย่าง ไม่ผ่าน 9 ตัวอย่าง คิดเป็นร้อยละ 91 และร้อยละ 9 ตามลำดับ พบว่าในการตรวจทั้งสองครั้งมีเพียงชนิดการตรวจสารเคมีปนเปื้อนในผักเท่านั้นที่พบการปนเปื้อน โดยพบสารเคมีปนเปื้อนในผักจำพวก กระเทียม พริกสด ผักชี ขึ้นฉ่าย ถั่วฝักยาว แครอท ผักกวางตุ้ง กะหล่ำดอก และผักกาดหอม
หลังจากได้ผลการตรวจวิเคราะห์ได้เชิญผู้ประกอบการ เข้าร่วมรับฟังผลการตรวจเฝ้าระวัง ระดมความคิดเห็น โดยเชิญวิทยากรจากสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสตูล มาให้ความรู้และแลกเปลี่ยนประสบการณ์กับเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบงานคุ้มครองผู้บริโภคและผู้ประกอบการร้านค้าในตลาดสดเทศบาล ตำบลทุ่งหว้า โดยมีผู้เข้าร่วมการประชุมครบตามจำนวนเป้าหมายและการประชุมดำเนินไปด้วยดี 2. ผลสัมฤทธิ์ตามวัตถุประสงค์ 2.1 การบรรลุตามวัตถุประสงค์   บรรลุตามวัตถุประสงค์
2.2 จำนวนผู้เข้าร่วมใน ผลงาน/โครงการ/กิจกรรม 2.2.1 กิจกรรมเก็บตัวอย่างตรวจสารปนเปื้อน ครั้งที่ 1 จำนวน 13 คน 2.2.2 กิจกรรมเก็บตัวอย่างตรวจสารปนเปื้อน ครั้งที่ 2 จำนวน 13 คน 2.2.3 กิจกรรมอบรมให้ความรู้ จำนวน 24 ราย 3. การเบิกจ่ายงบประมาณ   งบประมาณที่ได้รับการอนุมัติ 14,788.70 บาท งบประมาณเบิกจ่ายจริง 14,788.70 บาท คิดเป็นร้อยละ 100 งบประมาณเหลือส่งคืนกองทุน…………………0…………..…..บาท คิดเป็นร้อยละ.................0......... 4. ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงาน  ไม่มี
ปัญหา/อุปสรรค
4.1 การดำเนินการจัดซื้อชุดตรวจไม่ได้ครบตามชนิดสารที่ต้องการตรวจวิเคราะห์ที่กำหนดไว้
4.2 ราคาชุดตรวจมีการเปลี่ยนแปลง
แนวทางแก้ไข เนื่องจากชุดตรวจ GPO-M-KIT ผู้ผลิต/ จำหน่าย ไม่สามารถส่งของได้ ทำให้ต้องเปลี่ยนแปลงไปตรวจสารปนเปื้อนชนิดอื่นแทน (ฟอร์มาลีน) ซึ่งทำให้ยอดค่าใช้จ่ายในโครงการ