กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลทุ่งหว้า

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการตรวจเฝ้าระวังสารปนเปื้อนในอาหาร ประจำปีงบประมาณ 2566

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลทุ่งหว้า

โรงพยาบาลทุ่งหว้า

กลุ่มงานเภสัชกรรมและคุ้มครองผู้บริโภค โรงพยาบาลทุ่งหว้า

ณ ตลาดสดเทศบาลตำบลทุ่งหว้า

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานอาหารและโภชนาการ

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

ด้วยกลุ่มงานเภสัชกรรมและคุ้มครองผู้บริโภค โรงพยาบาลทุ่งหว้า ได้จัดทำโครงการตรวจเฝ้าระวังสารปนเปื้อนในอาหาร ประจำปีงบประมาณ 2566เพื่อให้ผู้บริโภคที่ซื้ออาหารจากตลาดสดเทศบาลตำบลทุ่งหว้า ได้รับประทานอาหารที่สะอาดปลอดภัย จากสารปนเปื้อนที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพละพัฒนาสร้างความรู้ให้แก่ผู้ประกอบการและผู้บริโภค ให้ตระหนักถึงความสำคัญของการเลือกซื้ออาหารที่เหมาะสม อันจะส่งผลให้ประชาชนได้บริโภคอาหารที่สะอาดและปลอดภัย ทั้งนี้ เพื่อประโยชน์ของประชาชนชาวทุ่งหว้า ต่อไป

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 1.เพื่อให้ผู้บริโภคได้รับประทานอาหารที่สะอาด ปลอดภัยจากสารปนเปื้อนที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ
  1. ผู้บริโภค ปลอดภัยจากสารปนเปื้อนในอาหาร ร้อยละ100 ของการตรวจสารปนเปื้อน 5 ชนิด
100.00 100.00
2 2. ผู้ประกอบการในตลาดสดเทศบาลตำบลทุ่งหว้า ได้เฝ้าระวังและตระหนักถึงถึงความสำคัญในการเลือกซื้ออาหารมาจำหน่ายในตลาดสด
  1. ผู้ประกอบการในตลาดสด จำนวน 15 ราย เลือกซื้ออาหารปลอดสารพิษมาจำหน่าย ร้อยละ 100
100.00 100.00

ด้วยกลุ่มงานเภสัชกรรมและคุ้มครองผู้บริโภค โรงพยาบาลทุ่งหว้า ได้จัดทำโครงการตรวจเฝ้าระวังสารปนเปื้อนในอาหาร ประจำปีงบประมาณ 2566เพื่อให้ผู้บริโภคที่ซื้ออาหารจากตลาดสดเทศบาลตำบลทุ่งหว้า ได้รับประทานอาหารที่สะอาดปลอดภัย จากสารปนเปื้อนที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพละพัฒนาสร้างความรู้ให้แก่ผู้ประกอบการและผู้บริโภค ให้ตระหนักถึงความสำคัญของการเลือกซื้ออาหารที่เหมาะสม อันจะส่งผลให้ประชาชนได้บริโภคอาหารที่สะอาดและปลอดภัย ทั้งนี้ เพื่อประโยชน์ของประชาชนชาวทุ่งหว้า ต่อไป

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 15
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/06/2023

กำหนดเสร็จ 31/12/2023

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมที่ 1 1.1 จัดซื้อตัวอย่าง และชุดตรวจ 1.2 ตรวจสารปนเปื้อนจากตัวอย่างอาหาร ในตลาดสด เทศบาลตำบลทุ่งหว้า กิจกรรมที่ 2 อบรมให้ความรู้แก่ผู้ประกอบการในตลาดสดเทศบาลตำบลทุ่งหว้า

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมที่ 1 1.1 จัดซื้อตัวอย่าง และชุดตรวจ 1.2 ตรวจสารปนเปื้อนจากตัวอย่างอาหาร ในตลาดสด เทศบาลตำบลทุ่งหว้า กิจกรรมที่ 2 อบรมให้ความรู้แก่ผู้ประกอบการในตลาดสดเทศบาลตำบลทุ่งหว้า
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

วิธีดำเนินการ (ออกแบบให้ละเอียด)
1.1 ขั้นตอนวางแผนงาน
1.1.1 เขียนโครงการเสนอต่อคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลทุ่งหว้าเพื่ออนุมัติโครงการ 1.1.2 เสนอแผนการดำเนินกิจกรรมขอรับการสนับสนุน 1.2 ขั้นตอนการดำเนินงาน
1.2.1 ดำเนินงานตามโครงการที่ได้รับการอนุมัติ
- ตรวจสารปนเปื้อน 4 ชนิดในสารอาหาร ได้แก่ สารฟอกขาว ฟอร์มาลิน สารกันรา และบอแรกซ์
เป็นระยะ 1 ครั้งต่อ 6 เดือน - ตรวจยาฆ่าแมลงในวัตถุดิบประเภทผักผลไม้เป็นระยะ 1 ครั้งต่อ 6 เดือน 1.2.2 อบรมให้ความรู้แก่ผู้ประกอบการ 1.2.3 ติดตามผลการดำเนินงาน ปัญหา และอุปสรรค และข้อจำกัดในการดำเนินงาน
1.2.4 ประเมินผลการดำเนินงาน 1.2.5 สรุปผลการดำเนินงาน
กิจกรรมที่ 1
1.1 จัดซื้อตัวอย่าง และชุดตรวจ 1.2 ตรวจสารปนเปื้อนจากตัวอย่างอาหาร ในตลาดสด เทศบาลตำบลทุ่งหว้า
1.3 ค่าซื้อตัวอย่าง 100 ตัวอย่าง * 2 ครั้ง 20 บาทเป็นเงิน4,000บาท 2.2 ค่าซื้อชุดทดสอบ - ชุดทดสอบบอแรกซ์1 ชุด129.47 บาท (1 ชุด /50 tests)เป็นเงิน129.47 บาท
- ชุดทดสอบฟอร์มาลิน 2 ชุด29.96 บาท (1 ชุด /30 tests) เป็นเงิน59.92 บาท
- ค่าชุดทดสอบสารฟอกขาว 1 ชุด
85.60 บาท(1 ชุด /100 tests)เป็นเงิน 85.60 บาท
- ชุดทดสอบสารกันรา 1 ชุด147.66 บาท(1 ชุด/50 test) เป็นเงิน 147.66 บาท
- ชุดตรวจคัดกรองสารเคมีกำจัดแมลงในผัก ผลไม้ และธัญพืช (GPO-M KIT) 2 ชุด
470.80 บาท (1 ชุด /10 tests)เป็นเงิน 941.6 บาท - กล่องอุปกรณ์ชุดทดสอบ GPO-M KIT 1 กล่อง647.35เป็นเงิน 647.35 บาท - ชุดทดสอบหาชนิดสารเคมีกำจัดแมลง 4 กลุ่ม ในผัก ผลไม้และธัญพืช (GPO-TM KIT) 2ชุด1348.20บาท(1 ชุด /10 tests) เป็นเงิน 2,696.4 บาท - ชุดทดสอบหาชนิดสารเคมีกำจัดแมลง 2 กลุ่ม ในผัก ผลไม้และธัญพืช (GPO-TM/2 KIT) 2ชุด1,524.75 (1 ชุด /30 tests) เป็นเงิน 3,049.5 บาท - กล่องอุปกรณ์ชุดทดสอบ GPO-TM KIT 1 กล่อง706.20(ใช้ร่วมกับ GPO-TM KIT,GPO-TM/2KIT)เป็นเงิน 706.20 บาท กิจกรรมที่ 2 อบรมให้ความรู้แก่ผู้ประกอบการในตลาดสดเทศบาลตำบลทุ่งหว้า 1. ค่าอาหารว่าง ( เช้า ) จำนวน 15 ชุด ๆละ 35 บาทเป็นเงิน 525.- บาท 2. ค่าวิทยากร จำนวน 3 ชั่วโมง ๆละ 600 บาทเป็นเงิน 1,800.-บาท
รวมเป็นเงินทั้งสิ้น 14,788.70 บาท (หนึ่งหมื่นสี่พันเจ็ดร้อยแปดสิบแปดบาทเจ็ดสิบสตางค์) *หมายเหตุ** ทุกรายการถั่วเฉลี่ยได้

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มิถุนายน 2566 ถึง 31 ธันวาคม 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  • ผู้บริโภคได้รับความปลอดภัยจากการบริโภคอาหารที่ซื้อจากตลาดสด เทศบาลตำบลทุ่งหว้า
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
14788.70

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 14,788.70 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

- ผู้บริโภคได้รับความปลอดภัยจากการบริโภคอาหารที่ซื้อจากตลาดสด เทศบาลอำเภอทุ่งหว้า


>