กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบลเทศบาลตำบลท่าสาป


“ โครงการสร้างความตระหนัก สร้างความเข้าใจวัคซีน กับการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ปี2566 ”

ตำบลท่าสาป อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นางสาวอะลีมะฮ์ เจ๊ะอาลี

ชื่อโครงการ โครงการสร้างความตระหนัก สร้างความเข้าใจวัคซีน กับการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ปี2566

ที่อยู่ ตำบลท่าสาป อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 66-L8412-06-012 เลขที่ข้อตกลง 12/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 มิถุนายน 2566 ถึง 29 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการสร้างความตระหนัก สร้างความเข้าใจวัคซีน กับการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ปี2566 จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่าสาป อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบลเทศบาลตำบลท่าสาป ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการสร้างความตระหนัก สร้างความเข้าใจวัคซีน กับการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ปี2566



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการสร้างความตระหนัก สร้างความเข้าใจวัคซีน กับการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ปี2566 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลท่าสาป อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 66-L8412-06-012 ระยะเวลาการดำเนินงาน 15 มิถุนายน 2566 - 29 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 26,850.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบลเทศบาลตำบลท่าสาป เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ที่ผ่านมานั้นสถานการณ์ของโรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีนในประเทศไทยโดยเฉพาะโรคที่ สำคัญ เช่น โรคหัด โรควัณโรค โรคคอตีบและล่าสุดโรคจากไวรัสกลายพันธุ์นั่นคือ โรคโควิด2019 โคโรน่าไวรัส จากปีงบประมาณ 2565พบผู้มารับบริการตรวจคัดกรองฉีดวัคซีน โดยรวมรายปี ประมาณ 445 รายต่อปี ในขณะที่พบผู้ป่วยโรคต่างๆที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีน เช่น โรคหัด 21 ราย ซึ่งแสดงให้เห็นว่าโรคเหล่านี้เป็นโรคที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพและอาจเป็นสาเหตุการเสียชีวิตได้ และโรคโคโรน่าไวรัส(โควิด 2019 )นั้นเป็นโรคระบาดที่แพร่กระจายไปทั่วโลก ซึ่งแพร่กระจายทางการไอจาม โดยการสัมผัสหรือสูดสิ่งคัดหลั่งเข้าไปในร่างกายทำให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพและเป็นสาเหตุการเสียชีวิตเสมือนโรคที่มีวัคซีนที่มีการให้บริการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคในสถานบริการของรัฐและเอกชน รวมทั้งคลินิกต่างๆ และโรคโควิด2019เริ่มมีการคิดค้นพัฒนาวัคซีนป้องกัน ให้เกิดขึ้นเพื่อให้บริการต่อไป แม้ว่าทางกระทรวงสาธารณสุขจะมีการสนับสนุนวัคซีนป้องกันโรคดังกล่าวในเด็ก เพื่อเสริมสร้างให้เด็กมีสุขภาพที่แข็งแรงมีภูมิคุ้มกันโรคที่ดี กระทรวงสาธารณสุขได้เล็งเห็นความสำคัญของการป้องกันควบคุมโรคด้วยวัคซีน จึงริเริ่มแผนงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคตั้งแต่ปี พ.ศ.2520 จากระยะเวลาที่ผ่านมาได้มีการพัฒนาปรับปรุงและขยายแผนงาน จนกระทั่งปัจจุบันมีวัคซีนที่เด็กควรได้รับจำนวน 8 ชนิด สำหรับป้องกันโรคทั้งหมด 10 โรค ได้แก่ วัคซีนป้องกันวัณโรค ตับอักเสบบี คอตีบ ไอกรน บาดทะยัก ฮิป โปลิโอ หัด หัดเยอรมัน คางทูม และไข้สมองอักเสบ โดยวัคซีนบางชนิดต้องได้รับมากกว่า 1 ครั้ง จึงจะสามารถป้องกันโรคได้ นอกจากนี้กระทรวงสาธารณสุขโดยการสนับสนุนของสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ได้จัดให้มีบริการวัคซีนแก่เด็กแรกเกิดอย่างต่อเนื่องปจนถึงวัยเรียน ซึ่งเด็กทุกคนควรได้รับวัคซีนอย่างน้อยตามที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนด ซึ่งกระทรวงฯ ได้บริการให้ฟรี โดยเด็กทุกคนสามารถรับวัคซีนเหล่านี้ได้จากสถานพยาบาลของรัฐหรือโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทุกแห่ง และควรรับวัคซีนให้ครบทุกช่วงอายุ
          ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่าสาป ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญในการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคในเด็ก 0-5 ปี จึงได้จัดทำโครงการหนูน้อย 0-5 ปีสุขภาพดีได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อส่งเสริมให้ผู้ปกครองเด็กอายุ 0 - 5 ปี( กลุ่มบ่ายเบี่ยงวัคซีน ) มีความรู้ความเข้าใจ ตระหนักถึงโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน
  2. เพื่อเพิ่มอัตราความครอบคลุมการได้รับวัคซีนในเด็กอายุ 0-5 ปี
  3. 3. เพื่อให้ผู้ปกครองของเด็กที่มีอายุ 0-5 ปี มีความตระหนักในการที่จะนำบุตรหลานมารับบริการวัคซีนให้ครบตามเกณฑ์

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการเสริมสร้างภูมิคุ้มกันโรคให้แก่หญิงตั้งครรภ์ไตรมาสที่ 3
  2. จัดอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการเสริมสร้างภูมิคุ้มกันโรคแก่ อาสาสมัครสาธารณสุข

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. องค์กรในชุมชน ได้แก่ ผู้นำชุมชนผู้นำศาสนา มีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาความครอบคลุมของวัคซีนเด็ก 0-5 ปี
  2. ผู้ปกครองของเด็กอายุ 0-5 ปี มีความรู้ที่ถูกต้องและตระหนักถึงความสำคัญของการรับวัคซีนตามนัด มีการพัฒนาระบบบริการเพื่อตอบสนองกลุ่มเป้าหมายและเพิ่มประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
  3. เด็ก 0-5 ปีได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์อายุร้อยละ 90
  4. เด็กที่ไม่ยอมรับวัคซีนได้รับวัคซีนเพิ่มขึ้นร้อยละ 10

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อส่งเสริมให้ผู้ปกครองเด็กอายุ 0 - 5 ปี( กลุ่มบ่ายเบี่ยงวัคซีน ) มีความรู้ความเข้าใจ ตระหนักถึงโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน
ตัวชี้วัด :

 

2 เพื่อเพิ่มอัตราความครอบคลุมการได้รับวัคซีนในเด็กอายุ 0-5 ปี
ตัวชี้วัด :

 

3 3. เพื่อให้ผู้ปกครองของเด็กที่มีอายุ 0-5 ปี มีความตระหนักในการที่จะนำบุตรหลานมารับบริการวัคซีนให้ครบตามเกณฑ์
ตัวชี้วัด :

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมให้ผู้ปกครองเด็กอายุ 0 - 5 ปี( กลุ่มบ่ายเบี่ยงวัคซีน )  มีความรู้ความเข้าใจ ตระหนักถึงโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน (2) เพื่อเพิ่มอัตราความครอบคลุมการได้รับวัคซีนในเด็กอายุ 0-5 ปี (3) 3. เพื่อให้ผู้ปกครองของเด็กที่มีอายุ 0-5 ปี มีความตระหนักในการที่จะนำบุตรหลานมารับบริการวัคซีนให้ครบตามเกณฑ์

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการเสริมสร้างภูมิคุ้มกันโรคให้แก่หญิงตั้งครรภ์ไตรมาสที่ 3 (2) จัดอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการเสริมสร้างภูมิคุ้มกันโรคแก่ อาสาสมัครสาธารณสุข

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการสร้างความตระหนัก สร้างความเข้าใจวัคซีน กับการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ปี2566 จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 66-L8412-06-012

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวอะลีมะฮ์ เจ๊ะอาลี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด