โครงการคุ้มครองผู้บริโภค ด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพในร้านชำและอาหารปลอดภัยในชุมชน
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการคุ้มครองผู้บริโภค ด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพในร้านชำและอาหารปลอดภัยในชุมชน ”
ตำบลท่าสาป อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
นางนูฮารยาตี มะแซ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบลเทศบาลตำบลท่าสาป
กันยายน 2566
ชื่อโครงการ โครงการคุ้มครองผู้บริโภค ด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพในร้านชำและอาหารปลอดภัยในชุมชน
ที่อยู่ ตำบลท่าสาป อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 66-L8412-06-014 เลขที่ข้อตกลง 14/2566
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 มิถุนายน 2566 ถึง 29 กันยายน 2566
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการคุ้มครองผู้บริโภค ด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพในร้านชำและอาหารปลอดภัยในชุมชน จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่าสาป อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบลเทศบาลตำบลท่าสาป ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการคุ้มครองผู้บริโภค ด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพในร้านชำและอาหารปลอดภัยในชุมชน
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการคุ้มครองผู้บริโภค ด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพในร้านชำและอาหารปลอดภัยในชุมชน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลท่าสาป อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 66-L8412-06-014 ระยะเวลาการดำเนินงาน 15 มิถุนายน 2566 - 29 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 19,600.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบลเทศบาลตำบลท่าสาป เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ประเทศกำลังเผชิญกับความเจริญด้านต่างๆ ทำให้ประชาชนเกิดการเปลี่ยนแปลงวิถีการดำเนินชีวิตในทุกด้าน เช่นการอุปโภค บริโภคสินค้า และวิกฤตที่เกิดขึ้นนี้ทำให้เกิดการแข่งขันกันอย่างมากในเรื่องของการผลิต และการจำหน่ายผลิตภัณฑ์แก่ผู้บริโภค เพราะผู้ประกอบการจะใช้กลยุทธ์ต่างๆ เพื่อให้ขายสินค้าได้จำนวนมาก และมีต้นทุนต่ำ ปัญหาการคุ้มครองผู้บริโภคปัจจุบัน พบว่าผู้บริโภคมีความรู้ไม่เพียงพอในการเลือกซื้อผลิตภัณฑ์ที่เหมาะสม ขาดข้อมูลข่าวสารที่ถูกต้อง ทำให้ตกเป็นเหยื่อของการแข่งขันกันทางเศรษฐกิจ ในส่วนของผู้ประกอบการ มีแรงโน้มฝ่าฝืน หรือละเลยข้อกฎหมาย บางส่วนยังไม่มีความรู้ในเรื่องของกฎหมายต่างๆ
งานคุ้มครองผู้บริโภคด้านสาธารณสุข เป็นงานที่เกี่ยวข้องกับการควบคุม กำกับ ดูแลและบังคับใช้กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับผลิตภัณฑ์ สุขภาพและบริการสุขภาพ เช่นอาหาร ยา เครื่องสำอาง ร้านขายของชำในหมู่บ้าน เป็นต้นซี่งในส่วนของผลิตภัณฑ์สุขภาพ และบริการสุขภาพหล่าวนี้มีผู้เกี่ยวข้องหลายส่วน เช่น ผู้ผลิต ผู้จำหน่าย ตลอดจนผู้บริโภค โดยเฉพาะผู้บริโภคจะได้รับผลกระทบโดยตรงจากการใช้ผลิตภัณฑ์เหล่านั้น หากเป็นผลิตภัณฑ์ที่ไม่มีคุณภาพ ลอกเลียนแบบ เจือปนสารอันตรายลงไป หรือหากบริการสุขภาพนั้นไม่ได้มาตรฐานจะทำให้ผู้บริโภคได้รับผลกระทบต่อสุขภาพอาจทำให้เสียชีวิตได้ ร้านขายของชำในหมู่บ้าน เป็นร้านที่ผู้บริโภค จับจ่าย ใช้สอยและซื้อสินค้ามากที่สุด เนื่องจากเป็นร้านที่อยู่ในหมู่บ้าน สะดวกในการซื้อสินค้า เป็นร้านจำหน่ายสินค้าที่หลากหลายชนิด เช่น ยา เครื่องสำอาง อาหารสำเร็จรูป เครื่องปรุงรส อาหารแปรรูป บุหรี่ ดังนั้น เพื่อเป็นการคุ้มครองผู้บริโภค ตรวจสอบเฝ้าระวังความปลอดภัยของผลิตภัณฑ์สุขภาพและบริการสุขภาพ พัฒนาศักยภาพผู้ประกอบการร้านขายของชำในหมู่บ้าน เพื่อเป็นการพัฒนาสร้างความรู้แก่ผู้ประกอบการ ผู้บริโภคให้ตระหนักถึงความสำคัญของการเลือกซื้ออาหารที่เหมาะสม อันจะส่งผลให้ประชาชนได้บริโภคอาหารที่สะอาด ปลอดภัยร่วมกับคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคระดับตำบล
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่าสาป จังหวัดยะลา ได้ตระหนักถึงปัญหาและเห็นถึงความสำคัญของการคุ้มครองผู้บริโภค จึงได้จัดทำโครงการคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพในร้านชำและอาหารปลอดภัยในชุมชน ในโรงเรียน เพื่อส่งเสริมความเข้มแข็งในชุมชน ในโรงเรียนขึ้นเพื่อให้ประชาชน รู้จักเลือกบริโภคสินค้าที่ได้มาตรฐาน นำไปแก้ไขปัญหาในพื้นที่และชุมชน จนทำให้เกิดการเฝ้าระวังความปลอดภัย ส่งเสริมการดำเนินงานเฝ้าระวังและวางแผนแก้ไขปัญหาร่วมกับชุมชน ซึ่งเป็นโครงการเน้นการสร้างเครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภคในชุมชนและในโรงเรียน(อย.น้อย) เพื่อให้ชุมชน โรงเรียนได้รับความปลอดภัยจากการใช้ผลิตภัณฑ์สุขภาพต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อคุ้มครองผู้บริโภคให้เกิดความปลอดภัยจากการใช้ยา เครื่องสำอาง ผลิตภัณฑ์สุขภาพและบริการสุขภาพและอาหารปลอดภัย
- เพื่อให้ผู้ประกอบการร้านขายของชำ/แผงลอย ในหมู่บ้าน มีความรู้เกี่ยวกับอาหาร ยา เครื่องสำอาง ผลิตภัณฑ์สุขภาพและบริการสุขภาพและอาหารปลอดภัย
- เฝ้าระวังการขายยา เครื่องสำอาง ผลิตภัณฑ์สุขภาพและบริการสุขภาพในร้านขายของชำและเฝ้าระวังแผงลอยจำหน่ายอาหาร
- เพื่อให้นักเรียน (อย.น้อย)ได้มีความรู้ในเรื่องผลิตภัณฑ์สุขภาพ และสามารถเลือกซื้อ เลือกบริโภคได้อย่างถูกต้อง ปลอดภัย สามารถเผยแพร่ความรู้ที่ได้รับไปยังเพื่อนนักเรียน และครอบครัว
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- จัดกิจกรรมให้ความรู้แก่กลุ่มเป้าหมาย อสม. ตัวแทนร้านค้าในชุมชน
- จัดกิจกรรมให้ความรู้แก่กลุ่มนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 – 6
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1 .ผู้บริโภคมีความปลอดภัยจากการใช้ยา เครื่องสำอาง ผลิตภัณฑ์สุขภาพ บริการสุขภาพ และอาหารปลอดภัย
2. ผู้ประกอบการร้านขายของชำ / แผงลอย สามารถเลือกซื้อสินค้าและบริการสุขภาพที่มีคุณภาพมาจำหน่ายให้กับผู้บริโภค
3. ร้านขายของชำ/แผงลอย ในพื้นที่ได้รับการเฝ้าระวัง/ประเมินติดตาม/ตรวจสอบตามกฎหมาย
4. แกนนำนักเรียน (อย.น้อย)มีความรู้ในการเลือกใช้ผลิตภัณฑ์สุขภาพ และสามารถเลือกซื้อ เลือกบริโภคได้อย่างถูกต้อง ปลอดภัย สามารถเผยแพร่ความรู้ที่ได้รับไปยังเพื่อนนักเรียนและครอบครัว
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อคุ้มครองผู้บริโภคให้เกิดความปลอดภัยจากการใช้ยา เครื่องสำอาง ผลิตภัณฑ์สุขภาพและบริการสุขภาพและอาหารปลอดภัย
ตัวชี้วัด :
2
เพื่อให้ผู้ประกอบการร้านขายของชำ/แผงลอย ในหมู่บ้าน มีความรู้เกี่ยวกับอาหาร ยา เครื่องสำอาง ผลิตภัณฑ์สุขภาพและบริการสุขภาพและอาหารปลอดภัย
ตัวชี้วัด :
3
เฝ้าระวังการขายยา เครื่องสำอาง ผลิตภัณฑ์สุขภาพและบริการสุขภาพในร้านขายของชำและเฝ้าระวังแผงลอยจำหน่ายอาหาร
ตัวชี้วัด :
4
เพื่อให้นักเรียน (อย.น้อย)ได้มีความรู้ในเรื่องผลิตภัณฑ์สุขภาพ และสามารถเลือกซื้อ เลือกบริโภคได้อย่างถูกต้อง ปลอดภัย สามารถเผยแพร่ความรู้ที่ได้รับไปยังเพื่อนนักเรียน และครอบครัว
ตัวชี้วัด :
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
0
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อคุ้มครองผู้บริโภคให้เกิดความปลอดภัยจากการใช้ยา เครื่องสำอาง ผลิตภัณฑ์สุขภาพและบริการสุขภาพและอาหารปลอดภัย (2) เพื่อให้ผู้ประกอบการร้านขายของชำ/แผงลอย ในหมู่บ้าน มีความรู้เกี่ยวกับอาหาร ยา เครื่องสำอาง ผลิตภัณฑ์สุขภาพและบริการสุขภาพและอาหารปลอดภัย (3) เฝ้าระวังการขายยา เครื่องสำอาง ผลิตภัณฑ์สุขภาพและบริการสุขภาพในร้านขายของชำและเฝ้าระวังแผงลอยจำหน่ายอาหาร (4) เพื่อให้นักเรียน (อย.น้อย)ได้มีความรู้ในเรื่องผลิตภัณฑ์สุขภาพ และสามารถเลือกซื้อ เลือกบริโภคได้อย่างถูกต้อง ปลอดภัย สามารถเผยแพร่ความรู้ที่ได้รับไปยังเพื่อนนักเรียน และครอบครัว
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดกิจกรรมให้ความรู้แก่กลุ่มเป้าหมาย อสม. ตัวแทนร้านค้าในชุมชน (2) จัดกิจกรรมให้ความรู้แก่กลุ่มนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 – 6
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการคุ้มครองผู้บริโภค ด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพในร้านชำและอาหารปลอดภัยในชุมชน จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 66-L8412-06-014
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางนูฮารยาตี มะแซ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการคุ้มครองผู้บริโภค ด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพในร้านชำและอาหารปลอดภัยในชุมชน ”
ตำบลท่าสาป อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
นางนูฮารยาตี มะแซ
กันยายน 2566
ที่อยู่ ตำบลท่าสาป อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 66-L8412-06-014 เลขที่ข้อตกลง 14/2566
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 มิถุนายน 2566 ถึง 29 กันยายน 2566
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการคุ้มครองผู้บริโภค ด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพในร้านชำและอาหารปลอดภัยในชุมชน จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่าสาป อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบลเทศบาลตำบลท่าสาป ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการคุ้มครองผู้บริโภค ด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพในร้านชำและอาหารปลอดภัยในชุมชน
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการคุ้มครองผู้บริโภค ด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพในร้านชำและอาหารปลอดภัยในชุมชน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลท่าสาป อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 66-L8412-06-014 ระยะเวลาการดำเนินงาน 15 มิถุนายน 2566 - 29 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 19,600.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบลเทศบาลตำบลท่าสาป เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ประเทศกำลังเผชิญกับความเจริญด้านต่างๆ ทำให้ประชาชนเกิดการเปลี่ยนแปลงวิถีการดำเนินชีวิตในทุกด้าน เช่นการอุปโภค บริโภคสินค้า และวิกฤตที่เกิดขึ้นนี้ทำให้เกิดการแข่งขันกันอย่างมากในเรื่องของการผลิต และการจำหน่ายผลิตภัณฑ์แก่ผู้บริโภค เพราะผู้ประกอบการจะใช้กลยุทธ์ต่างๆ เพื่อให้ขายสินค้าได้จำนวนมาก และมีต้นทุนต่ำ ปัญหาการคุ้มครองผู้บริโภคปัจจุบัน พบว่าผู้บริโภคมีความรู้ไม่เพียงพอในการเลือกซื้อผลิตภัณฑ์ที่เหมาะสม ขาดข้อมูลข่าวสารที่ถูกต้อง ทำให้ตกเป็นเหยื่อของการแข่งขันกันทางเศรษฐกิจ ในส่วนของผู้ประกอบการ มีแรงโน้มฝ่าฝืน หรือละเลยข้อกฎหมาย บางส่วนยังไม่มีความรู้ในเรื่องของกฎหมายต่างๆ
งานคุ้มครองผู้บริโภคด้านสาธารณสุข เป็นงานที่เกี่ยวข้องกับการควบคุม กำกับ ดูแลและบังคับใช้กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับผลิตภัณฑ์ สุขภาพและบริการสุขภาพ เช่นอาหาร ยา เครื่องสำอาง ร้านขายของชำในหมู่บ้าน เป็นต้นซี่งในส่วนของผลิตภัณฑ์สุขภาพ และบริการสุขภาพหล่าวนี้มีผู้เกี่ยวข้องหลายส่วน เช่น ผู้ผลิต ผู้จำหน่าย ตลอดจนผู้บริโภค โดยเฉพาะผู้บริโภคจะได้รับผลกระทบโดยตรงจากการใช้ผลิตภัณฑ์เหล่านั้น หากเป็นผลิตภัณฑ์ที่ไม่มีคุณภาพ ลอกเลียนแบบ เจือปนสารอันตรายลงไป หรือหากบริการสุขภาพนั้นไม่ได้มาตรฐานจะทำให้ผู้บริโภคได้รับผลกระทบต่อสุขภาพอาจทำให้เสียชีวิตได้ ร้านขายของชำในหมู่บ้าน เป็นร้านที่ผู้บริโภค จับจ่าย ใช้สอยและซื้อสินค้ามากที่สุด เนื่องจากเป็นร้านที่อยู่ในหมู่บ้าน สะดวกในการซื้อสินค้า เป็นร้านจำหน่ายสินค้าที่หลากหลายชนิด เช่น ยา เครื่องสำอาง อาหารสำเร็จรูป เครื่องปรุงรส อาหารแปรรูป บุหรี่ ดังนั้น เพื่อเป็นการคุ้มครองผู้บริโภค ตรวจสอบเฝ้าระวังความปลอดภัยของผลิตภัณฑ์สุขภาพและบริการสุขภาพ พัฒนาศักยภาพผู้ประกอบการร้านขายของชำในหมู่บ้าน เพื่อเป็นการพัฒนาสร้างความรู้แก่ผู้ประกอบการ ผู้บริโภคให้ตระหนักถึงความสำคัญของการเลือกซื้ออาหารที่เหมาะสม อันจะส่งผลให้ประชาชนได้บริโภคอาหารที่สะอาด ปลอดภัยร่วมกับคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคระดับตำบล
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่าสาป จังหวัดยะลา ได้ตระหนักถึงปัญหาและเห็นถึงความสำคัญของการคุ้มครองผู้บริโภค จึงได้จัดทำโครงการคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพในร้านชำและอาหารปลอดภัยในชุมชน ในโรงเรียน เพื่อส่งเสริมความเข้มแข็งในชุมชน ในโรงเรียนขึ้นเพื่อให้ประชาชน รู้จักเลือกบริโภคสินค้าที่ได้มาตรฐาน นำไปแก้ไขปัญหาในพื้นที่และชุมชน จนทำให้เกิดการเฝ้าระวังความปลอดภัย ส่งเสริมการดำเนินงานเฝ้าระวังและวางแผนแก้ไขปัญหาร่วมกับชุมชน ซึ่งเป็นโครงการเน้นการสร้างเครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภคในชุมชนและในโรงเรียน(อย.น้อย) เพื่อให้ชุมชน โรงเรียนได้รับความปลอดภัยจากการใช้ผลิตภัณฑ์สุขภาพต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อคุ้มครองผู้บริโภคให้เกิดความปลอดภัยจากการใช้ยา เครื่องสำอาง ผลิตภัณฑ์สุขภาพและบริการสุขภาพและอาหารปลอดภัย
- เพื่อให้ผู้ประกอบการร้านขายของชำ/แผงลอย ในหมู่บ้าน มีความรู้เกี่ยวกับอาหาร ยา เครื่องสำอาง ผลิตภัณฑ์สุขภาพและบริการสุขภาพและอาหารปลอดภัย
- เฝ้าระวังการขายยา เครื่องสำอาง ผลิตภัณฑ์สุขภาพและบริการสุขภาพในร้านขายของชำและเฝ้าระวังแผงลอยจำหน่ายอาหาร
- เพื่อให้นักเรียน (อย.น้อย)ได้มีความรู้ในเรื่องผลิตภัณฑ์สุขภาพ และสามารถเลือกซื้อ เลือกบริโภคได้อย่างถูกต้อง ปลอดภัย สามารถเผยแพร่ความรู้ที่ได้รับไปยังเพื่อนนักเรียน และครอบครัว
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- จัดกิจกรรมให้ความรู้แก่กลุ่มเป้าหมาย อสม. ตัวแทนร้านค้าในชุมชน
- จัดกิจกรรมให้ความรู้แก่กลุ่มนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 – 6
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1 .ผู้บริโภคมีความปลอดภัยจากการใช้ยา เครื่องสำอาง ผลิตภัณฑ์สุขภาพ บริการสุขภาพ และอาหารปลอดภัย 2. ผู้ประกอบการร้านขายของชำ / แผงลอย สามารถเลือกซื้อสินค้าและบริการสุขภาพที่มีคุณภาพมาจำหน่ายให้กับผู้บริโภค 3. ร้านขายของชำ/แผงลอย ในพื้นที่ได้รับการเฝ้าระวัง/ประเมินติดตาม/ตรวจสอบตามกฎหมาย 4. แกนนำนักเรียน (อย.น้อย)มีความรู้ในการเลือกใช้ผลิตภัณฑ์สุขภาพ และสามารถเลือกซื้อ เลือกบริโภคได้อย่างถูกต้อง ปลอดภัย สามารถเผยแพร่ความรู้ที่ได้รับไปยังเพื่อนนักเรียนและครอบครัว
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อคุ้มครองผู้บริโภคให้เกิดความปลอดภัยจากการใช้ยา เครื่องสำอาง ผลิตภัณฑ์สุขภาพและบริการสุขภาพและอาหารปลอดภัย ตัวชี้วัด : |
|
|||
2 | เพื่อให้ผู้ประกอบการร้านขายของชำ/แผงลอย ในหมู่บ้าน มีความรู้เกี่ยวกับอาหาร ยา เครื่องสำอาง ผลิตภัณฑ์สุขภาพและบริการสุขภาพและอาหารปลอดภัย ตัวชี้วัด : |
|
|||
3 | เฝ้าระวังการขายยา เครื่องสำอาง ผลิตภัณฑ์สุขภาพและบริการสุขภาพในร้านขายของชำและเฝ้าระวังแผงลอยจำหน่ายอาหาร ตัวชี้วัด : |
|
|||
4 | เพื่อให้นักเรียน (อย.น้อย)ได้มีความรู้ในเรื่องผลิตภัณฑ์สุขภาพ และสามารถเลือกซื้อ เลือกบริโภคได้อย่างถูกต้อง ปลอดภัย สามารถเผยแพร่ความรู้ที่ได้รับไปยังเพื่อนนักเรียน และครอบครัว ตัวชี้วัด : |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 0 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อคุ้มครองผู้บริโภคให้เกิดความปลอดภัยจากการใช้ยา เครื่องสำอาง ผลิตภัณฑ์สุขภาพและบริการสุขภาพและอาหารปลอดภัย (2) เพื่อให้ผู้ประกอบการร้านขายของชำ/แผงลอย ในหมู่บ้าน มีความรู้เกี่ยวกับอาหาร ยา เครื่องสำอาง ผลิตภัณฑ์สุขภาพและบริการสุขภาพและอาหารปลอดภัย (3) เฝ้าระวังการขายยา เครื่องสำอาง ผลิตภัณฑ์สุขภาพและบริการสุขภาพในร้านขายของชำและเฝ้าระวังแผงลอยจำหน่ายอาหาร (4) เพื่อให้นักเรียน (อย.น้อย)ได้มีความรู้ในเรื่องผลิตภัณฑ์สุขภาพ และสามารถเลือกซื้อ เลือกบริโภคได้อย่างถูกต้อง ปลอดภัย สามารถเผยแพร่ความรู้ที่ได้รับไปยังเพื่อนนักเรียน และครอบครัว
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดกิจกรรมให้ความรู้แก่กลุ่มเป้าหมาย อสม. ตัวแทนร้านค้าในชุมชน (2) จัดกิจกรรมให้ความรู้แก่กลุ่มนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 – 6
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการคุ้มครองผู้บริโภค ด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพในร้านชำและอาหารปลอดภัยในชุมชน จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 66-L8412-06-014
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางนูฮารยาตี มะแซ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......