กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการอบรมและพัฒนาศักยภาพแกนนำสุขภาพ ตำบลท่าสาป ปี2566 ”
ตำบลท่าสาป อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา



หัวหน้าโครงการ
นางซาวียะห์ มูซา




ชื่อโครงการ โครงการอบรมและพัฒนาศักยภาพแกนนำสุขภาพ ตำบลท่าสาป ปี2566

ที่อยู่ ตำบลท่าสาป อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 66-L8412-06-018 เลขที่ข้อตกลง 18/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 มิถุนายน 2566 ถึง 29 กันยายน 2566

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการอบรมและพัฒนาศักยภาพแกนนำสุขภาพ ตำบลท่าสาป ปี2566 จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่าสาป อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบลเทศบาลตำบลท่าสาป ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการอบรมและพัฒนาศักยภาพแกนนำสุขภาพ ตำบลท่าสาป ปี2566



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการอบรมและพัฒนาศักยภาพแกนนำสุขภาพ ตำบลท่าสาป ปี2566 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลท่าสาป อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 66-L8412-06-018 ระยะเวลาการดำเนินงาน 15 มิถุนายน 2566 - 29 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 23,200.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบลเทศบาลตำบลท่าสาป เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัญหาสุขภาพของประชาชนส่วนใหญ่มีปัจจัยมาจากพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมทั้งพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพ พฤติกรรมการป้องกันโรค พฤติกรรมการรักษาพยาบาลและการฟื้นฟูสภาพ ซึ่งพฤติกรรมของประชาชนที่ไม่เหมาะสม ดังกล่าวมีทั้งพฤติกรรมเสี่ยงร่วม เช่น การสูบบุหรี่ ดื่มสุรา ความเครียดการขาดการออกกําลังกาย การบริโภคที่ไม่เหมาะสม ปัญหาการเลี้ยงดูบุตรและการให้ความอบอุ่นในครอบครัว การใช้ยาที่ไม่ถูกต้องและอนามัยส่วนบุคคลและมีพฤติกรรมเสี่ยง เฉพาะ เช่น การบริโภคอาหารที่ไม่ถูกหลักโภชนาการ การใช้สารเสพติดในกลุ่มเยาวชน การเฝ้าระวังและการกําจัดแหล่ง เพาะพันธุ์ยุง และขาดการป้องกันอุบัติเหตุทางจราจร เป็นต้น จากสภาพปัญหาสาธารณสุขดังกล่าว จําเป็นต้องมีการสร้างเสริมความรู้ความเข้าใจให้กับประชาชนอย่าง จริงจังและต่อเนื่องเข้าถึงกลุ่มเป้าหมาย ปัญหาดังกล่าวจึงจะคลี่คลายไปในทิศทางที่พึงประสงค์ โดยการให้ประชาชนใน ครัวเรือนได้มีบทบาทในการดูแลสุขภาพครอบครัวของตนเองมากยิ่งขึ้น ดังนั้น ชมรมอสม.หมู่ที่ 5 บ้านปือเราะ จึงมีแนวความคิดที่จะพัฒนารูปแบบการดูแลสุขภาพของครอบครัว ประชาชนในชุมชม จึงได้จัดทําโครงการอบรมแกนนําสุขภาพประจําครอบครัว (กสค.) ขึ้น เพื่อหาแกนนําสุขภาพในแต่ละ ครอบครัวในการดูแลสุขภาพของตนเองและในครอบครัว อันจะส่งผลให้การดําเนินงานสาธารณสุขบรรลุผลดียิ่งขึ้นเป็นการ ตอบสนองภารกิจพื้นฐานขององค์กรและระบบพัฒนาคุณภาพงานเป็นไปตามนโยบายของรัฐบาลที่มุ่งหวังไว้ ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลท่าสาป จึงเล็งเห็นความสำคัญ โดยมีเป้าหมายที่จะดำเนินการอบรมให้ความรู้ เพื่อพัฒนาศักยภาพ แกนนำสุขภาพ ให้แกนนำสุขภาพเป็นผู้มีความรู้ความเชี่ยวชาญ ในเรื่องที่เป็นปัญหาสาธารณสุขในชุมชน เพื่อนำไปถ่ายทอดความรู้ ให้บริการและประสานงานกับชุมชนได้อย่างมีประสิทธิภาพจึงได้จัดทำโครงการอบรมพัฒนาศักยภาพ แกนนำสุขภาพ ในเขตเทศบาลตำบลท่าสาป อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา ปีงบประมาณ 2566

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้มีแกนนำสุขภาพประจำครอบครัว (กสค.)ครอบครัวละ 1 คน
  2. เพื่อให้ประชาชนได้มีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพของตนเองและสมาชิกในครอบครัว
  3. เพื่อเพิ่มศักยภาพของประชาชนในแต่ละพื้นที่ในการดูแลสุขภาพ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1.มีแกนนำสุขภาพประจำครอบครัว(กสค.) ที่สามารถดูแลสุขภาพของสมาชิกในครอบครัวตนเองได้
    2.แกนนำครอบครัวมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพ และสามารถนำปัญหาสุขภาพ มาจัดทำเป็นโครงการ แก้ไขปัญหาสุขภาพในชุมชนตนเองได้
    3.กสค.สามารถปฏิบัติตนเองด้านสุขภาพซึ่งสามารถเป็นตัวอย่างที่ดีแก่คนในครอบครัวตนเอง


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อให้มีแกนนำสุขภาพประจำครอบครัว (กสค.)ครอบครัวละ 1 คน
    ตัวชี้วัด :

     

    2 เพื่อให้ประชาชนได้มีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพของตนเองและสมาชิกในครอบครัว
    ตัวชี้วัด :

     

    3 เพื่อเพิ่มศักยภาพของประชาชนในแต่ละพื้นที่ในการดูแลสุขภาพ
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้มีแกนนำสุขภาพประจำครอบครัว (กสค.)ครอบครัวละ 1 คน (2) เพื่อให้ประชาชนได้มีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพของตนเองและสมาชิกในครอบครัว (3) เพื่อเพิ่มศักยภาพของประชาชนในแต่ละพื้นที่ในการดูแลสุขภาพ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการอบรมและพัฒนาศักยภาพแกนนำสุขภาพ ตำบลท่าสาป ปี2566 จังหวัด ยะลา

    รหัสโครงการ 66-L8412-06-018

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางซาวียะห์ มูซา )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด