กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการรณรงค์ควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกและโรคติดต่อที่นำโดยยุง
รหัสโครงการ 66-L3018-1-16
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยงานสาธารณสุขอื่นของ อปท. เช่น กองสาธารณสุขของเทศบาล
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลตำบลรูสะมิแล
วันที่อนุมัติ 19 มิถุนายน 2566
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 3 มิถุนายน 2545 - 31 สิงหาคม 2566
กำหนดวันส่งรายงาน 29 กันยายน 2566
งบประมาณ 33,221.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวรุสมี เจ๊ะด๊ะ
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลรูสะมิแล อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี
ละติจูด-ลองจิจูด 6.864,101.207place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 20 ก.ค. 2566 27 ก.ค. 2566 33,221.00
รวมงบประมาณ 33,221.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 100 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

โรคไข้เลือดออกเป็นโรคติดต่อที่เกิดจากยุงลายตัวเมียบินไปกัดคนที่ป่วยเป็นไข้เลือดออก โดยเฉพาะช่วงที่มีไข้สูง เชื้อไวรัสเด็งกีจะเพิ่มจำนวนในตัวยุงประมาณ 8-10 วัน เชื้อไวรัสเด็งกีก็จะไปฝังที่ผนังกระเพาะและต่อมน้ำลายของยุง เมื่อยุงกัดคนก็จะแพร่เชื้อสู่คน เชื้อจะอยู่ในร่างกายคนประมาณ ๒-๗ วัน ในช่วงที่มีไข้ หากยุงกัดคนในช่วงนี้ก็จะรับเชื้อไวรัสมาแพร่ให้กับคนอื่น ซึ่งส่วนใหญ่มักจะเป็นเด็ก โรคนี้ระบาดในช่วงฤดูฝน ยุงลายชอบออกหากินในเวลากลางวัน
ตำบลรูสะมิแล เป็นอีกพื้นที่หนึ่งที่มีปัญหาการระบาดของโรคไข้เลือดออกมาอย่างต่อเนื่อง ชีวนิสัยของยุงชอบออกหากินเวลากลางวันจึงสันนิฐานได้ว่าการแพร่เชื้อและการกระจายโรค จะเกิดขึ้นได้ทั้งชุมชน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและโรงเรียน ตำบลรูสะมิแล พบว่าสถานการณ์ของโรคไข้เลือดออก ยังทวีความรุนแรงและมีผู้ป่วยมากขึ้น ซึ่งจำเป็นต้องทำการควบคุมป้องกันและรณรงค์เพื่อ ให้สถานการณ์ของโรคไข้เลือดออกกลับอยู่ในสภาวะที่ไม่รุนแรงและเพื่อเป็นการป้องกันอย่างต่อเนื่อง
ประกอบกับพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ.2496 และที่แก้ไขเพิ่มเติม มาตรา 50 (4) ป้องกันและระงับโรคติดต่อที่นำโดยยุง ในการนี้กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลตำบลรูสะมิแล    จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้นเพื่อควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออกล่วงหน้าและทันท่วงทีที่เกิดโรค

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1. เพื่อให้ชุมชนมีสภาวะแวดล้อมที่ดี ชุมชนสะอาด ส่งผลให้มีสุขภาพชีวิตที่ดีขึ้น 2. เพื่อป้องกันไม่ให้เป็นแหล่งอาศัยและเพาะพันธุ์สัตว์และแมลงพาหะนำโรคที่มาจากขยะ 3. เพื่อสร้างพลังในการร่วมกันพัฒนาพื้นที่จากทุกภาคส่วน และสร้างจิตสำนึกรักสิ่งแวดล้อมให้กับประชาชนในพื้นที่ 4. เพื่อให้นักเรียนและชุมชนเกิดพฤติกรรมในการทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลาย 5. เพื่อลดจำนวนและอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกในกลุ่มวัยเรียน

 

stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
วันที่ชื่อกิจกรรมกลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)

วัตถุประสงค์ข้อที่ 1 : 1. เพื่อให้ชุมชนมีสภาวะแวดล้อมที่ดี ชุมชนสะอาด ส่งผลให้มีสุขภาพชีวิตที่ดีขึ้น 2. เพื่อป้องกันไม่ให้เป็นแหล่งอาศัยและเพาะพันธุ์สัตว์และแมลงพาหะนำโรคที่มาจากขยะ 3. เพื่อสร้างพลังในการร่วมกันพัฒนาพื้นที่จากทุกภาคส่วน และสร้างจิตสำนึกรักสิ่งแวดล้อมให้กับประชาชนในพื้นที่ 4. เพื่อให้นักเรียนและชุมชนเกิดพฤติกรรมในการทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลาย 5. เพื่อลดจำนวนและอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกในกลุ่มวัยเรียน

รวม 0 0.00 0 0.00

ไม่ระบุวัตถุประสงค์

20 - 26 มิ.ย. 66 โครงการรณรงค์ ควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกและโรคติดต่อที่นำโดยยุง ประจำปี 2566 0.00 0.00 -

หมายเหตุ : งบประมาณ และ ค่าใช้จ่าย รวมทุกวัตถุประสงค์อาจจะไม่เท่ากับงบประมาณรวมได้

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. สามารถควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกและโรคติดต่อที่นำโดยยุง
  2. ทำให้นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจในการป้องกันโรคไข้เลือดออกที่ถูกวิธีและเหมาะสม
  3. สามารถส่งเสริมให้นักเรียนทำกิจกรรมในการทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ
  4. สามารถลดอัตราการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก
  5. สามารถกระตุ้นให้นักเรียนเกิดความตระหนักและเห็นความสำคัญของการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 21 มิ.ย. 2566 15:08 น.