กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการป้องกันการเกิดโรคหลอดเลือดสมอง ปีงบประมาณ 2566 ”




หัวหน้าโครงการ
นายอุสมาน แวหะยี




ชื่อโครงการ โครงการป้องกันการเกิดโรคหลอดเลือดสมอง ปีงบประมาณ 2566

ที่อยู่ จังหวัด

รหัสโครงการ L4143 เลขที่ข้อตกลง 42/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2566 ถึง 29 กันยายน 2566

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการป้องกันการเกิดโรคหลอดเลือดสมอง ปีงบประมาณ 2566 จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเตงนอก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกันการเกิดโรคหลอดเลือดสมอง ปีงบประมาณ 2566



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการป้องกันการเกิดโรคหลอดเลือดสมอง ปีงบประมาณ 2566 " ดำเนินการในพื้นที่ รหัสโครงการ L4143 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2566 - 29 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 26,550.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเตงนอก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคหลอดเลือดสมอง(Stroke) หรือโรคอัมพฤกษ์ อัมพาต เป็นโรคทางระบบประสาทที่พบบ่อยและเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญซึ่งประเทศไทยคาดว่ามีผู้ป่วยรายใหม่เพิ่มมากขึ้น ในแต่ละปี โรคหลอดเลือดสมองเกี่ยวข้องกับปัจจัยหลายประการได้แก่ ปัจจัยส่วนบุคคลด้านอายุ เพศ และปัจจัยด้านพฤติกรรม เช่น การออกกำลังกาย อาหาร การสูบบุหรี่ ดื่มสุรา และปัจจัยทางกายภาพ เช่น ความดันโลหิต ระดับไขมันในเลือด และเบาหวาน ปัจจัยเหล่านี้ล้วนเป็นความเสี่ยงของแต่ละบุคคลในการนำไปสู่โรคหลอดเลือดสมอง ในระดับที่แตกต่างกัน ซึ่งบุคคลที่มีหลายปัจจัยร่วมกันจะมีโอกาสเสี่ยงต่อโรคมากขึ้น การเจ็บป่วยฉุกเฉินเป็นภาวะที่เกิดขึ้นโดยไม่ได้คาดการณ์ล่วงหน้าและเป็นภาวะวิกฤตของแต่ละบุคคล หากไม่ได้รับการแก้ไขอย่างทันท่วงทีและเหมาะสมอาจเกิดการสูญเสียชีวิต รวมทั้งเกิดความบกพร่องในการทำงานของอวัยวะที่สำคัญ ก่อให้เกิดการบาดเจ็บหรือฉุกเฉินที่เป็นสาเหตุการเสียชีวิตอันดับหนึ่ง ได้แก่ กลุ่มโรคระบบหัวใจและหลอดเลือด (Cardiovascular Disease) ซึ่งกลุ่มโรคดังกล่าวมีแนวโน้มสูงขึ้นเมื่อพิจารณาเป็นรายโรค และพบว่าสาเหตุการเสียชีวิตมากที่สุดทั้งในเพศชายและเพศหญิงคือ โรคหลอดเลือดสมอง ซึ่งพบอัตราการเสียชีวิตมากถึงร้อยละ 28 ในเพศหญิง และร้อยละ 10.6 ในเพศชาย ส่วนผู้รอดชีวิตจากกลุ่มโรคหลอดเลือดสมองมักเกิดความพิการหลงเหลือตามมามากที่สุด
สถานการณ์โรคหลอดเลือดสมอง ของตำบลสะเตงนอก พบว่าปัจจัยที่เป็นสาเหตุสำคัญของการเกิดโรค ได้แก่ การที่ผู้ป่วยมีโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน และไขมันในเส้นเลือด มีอัตราการควบคุมระดับความดันโลหิตมากกว่า 140/90 มิลลิเมตรปรอท และควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดสะสมมากกว่า 126 มิลลิกรัมต่อเดซิลิตร เมื่องดอาหาร และมากกว่า 200 มิลลิกรัมต่อเดซิลิตร หลังรับประทานอาหาร มีอัตราการควบคุมระดับไขมันในเส้นเลือดมากกว่า 200 มิลลิกรัมต่อเดซิลิตร และจากสถานการณ์ 5 ปีย้อนหลัง พบว่า มีผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองในตำบลสะเตงนอกปีงบประมาณ 2561-2565 จำนวน 134, 152, 147, 161 และ 167 ราย ตามลำดับ (จากฐานข้อมูลสุขภาพ HDC จังหวัดยะลา วันที่ 2 พฤษภาคม 2566) แต่ถ้าหากผู้เจ็บป่วยฉุกเฉินเหล่านี้ได้รับการช่วยเหลือได้รวดเร็วทันเวลา จะสามารถช่วยลดอัตราการเสียชีวิตได้ถึงร้อยละ 30 และลดความพิการที่อาจเกิดตามมาภายหลังได้ หากได้รับการนำส่งโรงพยาบาลอย่างถูกวิธี และได้รับยาละลายลิ่มเลือดภายในเวลา 4.5 ชั่วโมง นับจากเกิดเหตุ จากสถานการณ์ดังกล่าว แสดงให้เห็นว่าจำนวนการป่วย และการเสียชีวิตจากโรคหลอดเลือดสมอง มีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้นในทุกๆปี ซึ่งเป็นภัยคุกคามทางด้านสุขภาพ
ดังนั้น ศูนย์บริการสาธารณสุขด้านเวชกรรมฟื้นฟู เทศบาลเมืองสะเตงนอก จึงเล็งเห็นถึงความสำคัญของปัญหาดังกล่าว จึงได้จัดทำ “โครงการป้องกันการเกิดโรคหลอดเลือดสมอง ปีงบประมาณ 2566” ขึ้น โดยการบูรณาการความร่วมมือทุกภาคส่วนเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนร่วมกับบุคลากรสาธารณสุข เพื่อให้มีภาคีเครือข่ายที่เข้มแข็งในการดำเนินงานป้องกันโรคหลอดเลือดสมองในพื้นที่เพื่อลดความพิการและเสียชีวิตจากโรคหลอดเลือดสมอง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อพัฒนาศักยภาพ และเสริมสร้างองค์ความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคหลอดเลือดสมอง และเกิดทักษะการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการดูแลสุขภาพของตนเองและครอบครัว ให้มีพฤติกรรมการบริโภคอาหารอย่างเหมาะสม ลดหวาน มัน เค็ม ออกกำลังกายที่ถูกวิธีอย่างสม่ำเสมอ งดสูบบุหรี่ และเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์
  2. 2. สามารถประเมินความเสี่ยงของการเกิดโรคหลอดเลือดสมองในภาวะฉุกเฉินได้ด้วยตนเอง
  3. 3. เพื่อเป็นเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้และสร้างการมีส่วนร่วมของชุมชนในด้านสุขภาพ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมที่ 1 อบรมให้ความรู้โรคหลอดเลือดสมอง และการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมแก่ผู้เข้าร่วมโครงการ
  2. กิจกรรมที่ 2 ทดสอบสมรรถภาพทางกายและสาธิตเมนูอาหารเพื่อสุขภาพและแนะนำการออกกำลังกายที่เหมาะสมเกี่ยวกับโรคหลอดเลือดสมอง
  3. กิจกรรมที่ 3 ติดตามวัดความดันโลหิต/เยี่ยมบ้านกลุ่มเป้าหมายเป็นระยะเวลา 3 เดือน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 60
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้ที่มีความเสี่ยงโรคหลอดเลือดสมองมีศักยภาพและองค์ความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคหลอดเลือดสมอง และมีทักษะในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองและครอบครัว ให้มีพฤติกรรมการบริโภคอาหารอย่างเหมาะสม ลดหวาน มัน เค็ม ออกกำลังกายถูกวิธีอย่างสม่ำเสมอ งดสูบบุหรี่ และเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์และนำความรู้ที่ได้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน
  2. ผู้ที่มีความเสี่ยงโรคหลอดเลือดสมองสามารถประเมินความเสี่ยงของการเกิดโรคหลอดเลือดสมองในภาวะฉุกเฉินได้ด้วยตนเอง 3.ประชาชนมีส่วนร่วมในการสร้างพฤติกรรมที่ดีในชุมชน

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมที่ 1 อบรมให้ความรู้โรคหลอดเลือดสมอง และการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมแก่ผู้เข้าร่วมโครงการ

วันที่ 24 สิงหาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. รวบรวมข้อมูลผู้ที่มีความเสี่ยงโรคหลอดเลือดสมอง
  2. ประชุมคณะผู้ดำเนินโครงการ เพื่อกำหนดแนวทาง วิธีการ การดำเนินงานโครงการ ณ เทศบาลเมือง      สะเตงนอก
  3. เขียนโครงการเพื่อเสนอขออนุมัติ
  4. ติดต่อประสานงานวิทยากรและผู้เกี่ยวข้องเพื่อเตรียมความพร้อมในการดำเนินการอบรม และจัดกิจกรรมตามโครงการ
  5. จัดจ้างทำสื่อและประชาสัมพันธ์
  6. จัดเตรียมวัสดุเครื่องเขียนและอุปกรณ์ที่ใช้ในการจัดกิจกรรมตามโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ผู้ที่มีความเสี่ยงโรคหลอดเลือดสมองมีศักยภาพและองค์ความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคหลอดเลือดสมอง และมีทักษะในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองและครอบครัว ให้มีพฤติกรรมการบริโภคอาหารอย่างเหมาะสม ลดหวาน มัน เค็ม ออกกำลังกายถูกวิธีอย่างสม่ำเสมอ งดสูบบุหรี่ และเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์และนำความรู้ที่ได้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน
  2. ผู้ที่มีความเสี่ยงโรคหลอดเลือดสมองสามารถประเมินความเสี่ยงของการเกิดโรคหลอดเลือดสมองในภาวะฉุกเฉินได้ด้วยตนเอง 3.ประชาชนมีส่วนร่วมในการสร้างพฤติกรรมที่ดีในชุมชน

 

60 0

2. กิจกรรมที่ 2 ทดสอบสมรรถภาพทางกายและสาธิตเมนูอาหารเพื่อสุขภาพและแนะนำการออกกำลังกายที่เหมาะสมเกี่ยวกับโรคหลอดเลือดสมอง

วันที่ 24 สิงหาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. ประชุมคณะผู้ดำเนินโครงการ เพื่อกำหนดแนวทาง วิธีการ การดำเนินงานโครงการ ณ เทศบาลเมืองสะเตงนอก
  2. เขียนโครงการเพื่อเสนอขออนุมัติ
  3. ติดต่อประสานงานวิทยากรและผู้เกี่ยวข้องเพื่อเตรียมความพร้อมในการดำเนินการอบรม และจัดกิจกรรมตามโครงการ
  4. จัดจ้างทำสื่อและประชาสัมพันธ์
  5. จัดเตรียมวัสดุเครื่องเขียนและอุปกรณ์ที่ใช้ในการจัดกิจกรรมตามโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ผู้ที่มีความเสี่ยงโรคหลอดเลือดสมองมีศักยภาพและองค์ความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคหลอดเลือดสมอง และมีทักษะในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองและครอบครัว ให้มีพฤติกรรมการบริโภคอาหารอย่างเหมาะสม ลดหวาน มัน เค็ม ออกกำลังกายถูกวิธีอย่างสม่ำเสมอ งดสูบบุหรี่ และเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์และนำความรู้ที่ได้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน
  2. ผู้ที่มีความเสี่ยงโรคหลอดเลือดสมองสามารถประเมินความเสี่ยงของการเกิดโรคหลอดเลือดสมองในภาวะฉุกเฉินได้ด้วยตนเอง 3.ประชาชนมีส่วนร่วมในการสร้างพฤติกรรมที่ดีในชุมชน

 

60 0

3. กิจกรรมที่ 3 ติดตามวัดความดันโลหิต/เยี่ยมบ้านกลุ่มเป้าหมายเป็นระยะเวลา 3 เดือน

วันที่ 31 สิงหาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ลงเยี่ยมบ้าน วัดความดันโลหิต

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-ติดตามผลความดันโลหิตของผู้เข้าร่วมโครงการในระยะเวลา 3 เดือน โดยการวัดความโลหิตคัดกรอง สัปดาห์ละ 1 ครั้ง พบว่าร้อยละ 70 ของผู้เข้าร่วมโครงการอยุ่ในเกณฑ์ปกติ - ไม่พบผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง

 

58 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

  • ร้อยละ 85 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับโรคหลอดเลือดสมอง และทักษะการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการดูแลสุขภาพตนเอง โดยผ่านเกณฑ์แบบทดสอบความรู้หลังอบรม
  • ร้อยละ 85 ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถประเมินโรคหลอดเลือดสมองด้วยตนเองในภาวะฉุกเฉินได้
  • ผลเฉลี่ยประเมินความพึงพอใจต่อโครงการภาพรวมอยู่ในระดับดีมาก
  • การวัดความโลหิตคัดกรอง สัปดาห์ละ 1ครั้ง พบว่าร้อยละ 70 ของผู้เข้าร่วมโครงการอยุ่ในเกณฑ์ปกติ
  • ไม่พบการป่วยด้วยโรคหลอดเลือดสมองในกลุ่มเป้าหมาย

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อพัฒนาศักยภาพ และเสริมสร้างองค์ความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคหลอดเลือดสมอง และเกิดทักษะการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการดูแลสุขภาพของตนเองและครอบครัว ให้มีพฤติกรรมการบริโภคอาหารอย่างเหมาะสม ลดหวาน มัน เค็ม ออกกำลังกายที่ถูกวิธีอย่างสม่ำเสมอ งดสูบบุหรี่ และเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์
ตัวชี้วัด :
0.00 51.00

ร้อยละ 85 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับโรคหลอดเลือดสมอง และทักษะการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการดูแลสุขภาพตนเอง โดยผ่านเกณฑ์แบบทดสอบความรู้หลังอบรม

2 2. สามารถประเมินความเสี่ยงของการเกิดโรคหลอดเลือดสมองในภาวะฉุกเฉินได้ด้วยตนเอง
ตัวชี้วัด :
0.00 51.00

ร้อยละ 85 ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถประเมินโรคหลอดเลือดสมองด้วยตนเองในภาวะฉุกเฉินได้

3 3. เพื่อเป็นเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้และสร้างการมีส่วนร่วมของชุมชนในด้านสุขภาพ
ตัวชี้วัด :
0.00 60.00

มีตัวแทนมาแลกเปลี่ยนประสบการณ์

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 60 60
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 0
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 60 60
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อพัฒนาศักยภาพ และเสริมสร้างองค์ความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคหลอดเลือดสมอง และเกิดทักษะการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการดูแลสุขภาพของตนเองและครอบครัว ให้มีพฤติกรรมการบริโภคอาหารอย่างเหมาะสม ลดหวาน มัน เค็ม ออกกำลังกายที่ถูกวิธีอย่างสม่ำเสมอ งดสูบบุหรี่ และเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ (2) 2. สามารถประเมินความเสี่ยงของการเกิดโรคหลอดเลือดสมองในภาวะฉุกเฉินได้ด้วยตนเอง (3) 3. เพื่อเป็นเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้และสร้างการมีส่วนร่วมของชุมชนในด้านสุขภาพ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1 อบรมให้ความรู้โรคหลอดเลือดสมอง และการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมแก่ผู้เข้าร่วมโครงการ (2) กิจกรรมที่ 2 ทดสอบสมรรถภาพทางกายและสาธิตเมนูอาหารเพื่อสุขภาพและแนะนำการออกกำลังกายที่เหมาะสมเกี่ยวกับโรคหลอดเลือดสมอง (3) กิจกรรมที่ 3 ติดตามวัดความดันโลหิต/เยี่ยมบ้านกลุ่มเป้าหมายเป็นระยะเวลา 3 เดือน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการป้องกันการเกิดโรคหลอดเลือดสมอง ปีงบประมาณ 2566

รหัสโครงการ L4143 รหัสสัญญา 42/2566 ระยะเวลาโครงการ 1 พฤษภาคม 2566 - 29 กันยายน 2566

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

โครงการป้องกันการเกิดโรคหลอดเลือดสมอง ปีงบประมาณ 2566 จังหวัด

รหัสโครงการ L4143

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายอุสมาน แวหะยี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด