กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากคม


“ โครงการกลองยาวเพื่อสุขภาพ สืบสานวัฒนธรรมไทย ตำบลปากคม ปีงบประมาณ 2566 ”

ตำบลปากคม อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นายสมคิด ศรีโภคา

ชื่อโครงการ โครงการกลองยาวเพื่อสุขภาพ สืบสานวัฒนธรรมไทย ตำบลปากคม ปีงบประมาณ 2566

ที่อยู่ ตำบลปากคม อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 66-L1535-2-10 เลขที่ข้อตกลง 19/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 30 มิถุนายน 2566 ถึง 20 กรกฎาคม 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการกลองยาวเพื่อสุขภาพ สืบสานวัฒนธรรมไทย ตำบลปากคม ปีงบประมาณ 2566 จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปากคม อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากคม ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการกลองยาวเพื่อสุขภาพ สืบสานวัฒนธรรมไทย ตำบลปากคม ปีงบประมาณ 2566



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการกลองยาวเพื่อสุขภาพ สืบสานวัฒนธรรมไทย ตำบลปากคม ปีงบประมาณ 2566 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปากคม อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 66-L1535-2-10 ระยะเวลาการดำเนินงาน 30 มิถุนายน 2566 - 20 กรกฎาคม 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 17,870.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากคม เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สุขภาพดีเป็นสิ่งที่ทุกคนพึงปรารถนา การมีสุขภาพที่ดีประชาชนทุกคนจะต้องมีพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง เหมาะสม คือ เรื่องการบริโภคอาหารที่ถูกต้องตามหลักโภชนา การออกกำลังกายที่เหมาะสม การดูแลอารมณ์-สุขภาพจิตของตนเองให้ดี รวมทั้งเมื่อเจ็บป่วยต้องมีหลักประกันในการเข้าถึงบริการสุขภาพได้อย่างมีประสิทธิภาพ
แต่เนื่องจากการออกกำลังกายโดยทั่วไปมักจะน่าเบื่อ ไม่มีจุดดึงดูดความสนใจให้ออกกำลังกาย การตีกลอง ยาวและรำกลองยาวเป็นการออกกำลังกายอีกวิธีหนึ่งที่สร้างความสนใจให้ประชาชน เนื่องจากมีความสนุกสนานเพลิดเพลินไม่หักโหมจนเกินไปสำหรับผู้สูงอายุ อีกทั้งสามารถออกกำลังกายเป็นกลุ่ม ทำให้มีเพื่อนในการออกกำลังกาย จึงรู้สึกไม่น่าเบื่อ และสามารถออกกำลังกายได้ทุกกลุ่มวัย ได้ทั้งเรื่องความแข็งแรงของร่างกาย ได้เรื่องอารมณ์จิตใจ และด้านสังคม และสืบสานวัฒนธรรมอันดีงามของไทย ด้วยเหตุผลดังกล่าวชมรมผู้สูงอายุตำบลปากคม จึงได้จัดทำโครงการรำกลองยาวเพื่อสุขภาพสืบสานวัฒนธรรมไทย ประจำปีงบประมาณ 2566 ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อลดจำนวนผู้สูงอายุที่มี ADL น้อยว่า 11 คะแนน
  2. เพื่อเพิ่มจำนวนผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง(ADL น้อยว่า 11 คะแนน)ได้รับการจัดบริการดูแลระยาว
  3. เพื่อเพิ่มผู้สูงอายุที่มีภาวะซึมเศร้าต้องได้รับการดูแล
  4. เพื่อแก้ปัญหาผู้สูงอายุที่มีภาวะแทรกซ้อนจากโรคเรื้อรัง
  5. เพื่อเพิ่มจำนวนผู้ช่วยเหลือ(CG)ที่มีทักษะการดูและช่วยเหลือผู้สูงอายุในชุมชน
  6. เพื่อเพิ่มจำนวนบุคคลในครอบครัวที่มีความรู้ความเข้าใจและสามารถปฏิบัติต่อผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแล
  7. เพื่อลดจำนวนผู้สูงอายุที่เสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุ
  8. เพื่อให้เกิดนโยบายสาธารณะเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ
  9. เพื่อเพิ่มการอนุมัติและนำแผนการดูแลรายบุคคล(CP)ไปปฏิบัติ
  10. เพื่อเพิ่มการเข้าร่วมกลุ่ม/ชมรม ของผู้สูงอายุ
  11. เพื่อลดจำนวนผู้สูงอายุทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน
  12. เพื่อลดจำนวนผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง
  13. เพื่อเพิ่มจำนวนผู้สูงอายุ ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ
  14. เพื่อเพิ่มจำนวนผู้สูงอายุ ที่มีการบริโภคอาหารปลอดภัยและเพียงพอ
  15. เพื่อลด จำนวนผู้สูงอายุที่ติดการบริโภคอาหารหวาน มัน เค็ม
  16. 1. เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุออกกำลังกายเพื่อสุขภาพเป็นประจำ สม่ำเสมอและต่อเนื่อง ส่งผลให้มีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรงและจิตใจที่ดีลดภาวการณ์เจ็บป่วยด้วยโรคต่างๆ 2. เพื่อป้องกันภาวะซึมเศร้า ลดความเครียด และลดความแปรปรวนของอารมณ์ในผู้สูงอายุ 3. เพื่อให้ผู้สูงอายุได้ใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ 4. เพื่ออนุรักษ์วัฒนธรรมที่ดีงามของไทย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดประชุมคณะทำงานของชมรมผู้สูงอายุตำบลปากคม
  2. เขียนโครงการ/เสนอโครงการ/ขออนุมัติโครงการ
  3. ประชาสัมพันธ์โครงการและติดต่อประสานงานผู้เข้าร่วมโครงการที่เกี่ยวข้อง และกลุ่มเป้าหมาย
  4. ดำเนินงานตามโครงการ
  5. รายงานผลการดำเนินงานให้คณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลปากคมทราบ
  6. ค่าป้ายโครงการ ขนาด 0.9 *2.0 เมตร จำนวน 1 ป้าย
  7. ค่าตอบแทนวิทยากร ชั่วโมงละ 200 บาทวันละ 2 ชั่วโมง 1 คนจำนวน 20 วัน
  8. ค่าจัดซื้อวัสดุฝึกอบรม (กลองยาวขนาด 12 นิ้ว) จำนวน 6 ใบๆละ 1,600 บาท

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 25
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1) ผู้สูงอายุได้ออกกำลังกาย มีสุขภาพกาย สุขภาพใจที่ดีขึ้น
  ส่งผลให้มีสุขภาพกายและสุขภาพจิตดีขึ้น อยู่ร่วมกับครอบครัว ชุมชน และสังคม อย่างมีความสุข 2) ผู้สูงอายุมีความมั่นใจในตนเอง กล้าแสดงออก รู้สึกมีคุณค่าต่อตนเองและสังคม 3) ภาวะชึมเศร้าในผู้สูงอายุลดลง


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อลดจำนวนผู้สูงอายุที่มี ADL น้อยว่า 11 คะแนน
ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุที่มี ADL น้อยว่า 11 คะแนน มีจำนวนลดลง
13.00 13.00

 

2 เพื่อเพิ่มจำนวนผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง(ADL น้อยว่า 11 คะแนน)ได้รับการจัดบริการดูแลระยาว
ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง(ADL น้อยว่า 11 คะแนน)ได้รับการจัดบริการดูแลระยาว ลดลง
13.00 13.00

 

3 เพื่อเพิ่มผู้สูงอายุที่มีภาวะซึมเศร้าต้องได้รับการดูแล
ตัวชี้วัด : จำนวนผู้สูงอายุที่มีภาวะซึมเศร้าได้รับการดูแล เพิ่มขึ้น
2.00 0.00

 

4 เพื่อแก้ปัญหาผู้สูงอายุที่มีภาวะแทรกซ้อนจากโรคเรื้อรัง
ตัวชี้วัด : จำนวนผู้สูงอายุที่มีภาวะแทรกซ้อนจากโรคเรื้อรัง ลดลง
2.00 0.00

 

5 เพื่อเพิ่มจำนวนผู้ช่วยเหลือ(CG)ที่มีทักษะการดูและช่วยเหลือผู้สูงอายุในชุมชน
ตัวชี้วัด : จำนวนผู้ช่วยเหลือ(CG)ที่มีทักษะการดูและช่วยเหลือผู้สูงอายุในชุมชน มีจำนวนเพิ่มขึ้น
2.00 4.00

 

6 เพื่อเพิ่มจำนวนบุคคลในครอบครัวที่มีความรู้ความเข้าใจและสามารถปฏิบัติต่อผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแล
ตัวชี้วัด : จำนวนบุคคลในครอบครัวที่มีความรู้ความเข้าใจและสามารถปฏิบัติต่อผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแล เพิ่มขึ้น
2.00 0.00

 

7 เพื่อลดจำนวนผู้สูงอายุที่เสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุ
ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุที่เสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุ มีจำนวนลดลง
5.00 0.00

 

8 เพื่อให้เกิดนโยบายสาธารณะเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ
ตัวชี้วัด : จำนวน สถานที่หรือพื้นที่สาธารณะที่มีสภาพแวดล้อมเอื้อต่อการใช้ชีวิตของผู้สูงอายุ เพิ่มขึ้น
60.00 80.00

 

9 เพื่อเพิ่มการอนุมัติและนำแผนการดูแลรายบุคคล(CP)ไปปฏิบัติ
ตัวชี้วัด : แผนการดูแลรายบุคคล(CP) ที่ได้รับการอนมัติและดูแล เพิ่มขึ้น
2.00 0.00

 

10 เพื่อเพิ่มการเข้าร่วมกลุ่ม/ชมรม ของผู้สูงอายุ
ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุมีกลุ่มหรือสังกัดชมรม เพิ่มขึ้น
90.00 95.00

 

11 เพื่อลดจำนวนผู้สูงอายุทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน
ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน ลงลด
40.00 60.00

 

12 เพื่อลดจำนวนผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง
ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง ลดลง
40.00 60.00

 

13 เพื่อเพิ่มจำนวนผู้สูงอายุ ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ
ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุ ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (150 นาทีต่อสัปดาห์) เพิ่มขึ้้น
80.00 85.00

 

14 เพื่อเพิ่มจำนวนผู้สูงอายุ ที่มีการบริโภคอาหารปลอดภัยและเพียงพอ
ตัวชี้วัด : ร้อยละของผู้สูงอายุ ที่มีการบริโภคอาหาร ผัก ผลไม้ เพื่อสุขภาพอย่างเพียงพอ เพิ่มขึ้น
70.00 80.00

 

15 เพื่อลด จำนวนผู้สูงอายุที่ติดการบริโภคอาหารหวาน มัน เค็ม
ตัวชี้วัด : ร้อยละของผู้สูงอายุที่ชอบบริโภคอาหารหวาน มัน เค็ม ลดลง
1.00 0.00

 

16 1. เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุออกกำลังกายเพื่อสุขภาพเป็นประจำ สม่ำเสมอและต่อเนื่อง ส่งผลให้มีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรงและจิตใจที่ดีลดภาวการณ์เจ็บป่วยด้วยโรคต่างๆ 2. เพื่อป้องกันภาวะซึมเศร้า ลดความเครียด และลดความแปรปรวนของอารมณ์ในผู้สูงอายุ 3. เพื่อให้ผู้สูงอายุได้ใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ 4. เพื่ออนุรักษ์วัฒนธรรมที่ดีงามของไทย
ตัวชี้วัด : 1. เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุออกกำลังกายเพื่อสุขภาพเป็นประจำ สม่ำเสมอและต่อเนื่อง ส่งผลให้มีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรงและจิตใจที่ดีลดภาวการณ์เจ็บป่วยด้วยโรคต่างๆ 2. เพื่อป้องกันภาวะซึมเศร้า ลดความเครียด และลดความแปรปรวนของอารมณ์ในผู้สูงอายุ 3. เพื่อให้ผู้สูงอายุได้ใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ 4. เพื่ออนุรักษ์วัฒนธรรมที่ดีงามของไทย
1.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 25
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 25
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดจำนวนผู้สูงอายุที่มี ADL น้อยว่า 11 คะแนน (2) เพื่อเพิ่มจำนวนผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง(ADL น้อยว่า 11 คะแนน)ได้รับการจัดบริการดูแลระยาว (3) เพื่อเพิ่มผู้สูงอายุที่มีภาวะซึมเศร้าต้องได้รับการดูแล (4) เพื่อแก้ปัญหาผู้สูงอายุที่มีภาวะแทรกซ้อนจากโรคเรื้อรัง (5) เพื่อเพิ่มจำนวนผู้ช่วยเหลือ(CG)ที่มีทักษะการดูและช่วยเหลือผู้สูงอายุในชุมชน (6) เพื่อเพิ่มจำนวนบุคคลในครอบครัวที่มีความรู้ความเข้าใจและสามารถปฏิบัติต่อผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแล (7) เพื่อลดจำนวนผู้สูงอายุที่เสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุ (8) เพื่อให้เกิดนโยบายสาธารณะเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ (9) เพื่อเพิ่มการอนุมัติและนำแผนการดูแลรายบุคคล(CP)ไปปฏิบัติ (10) เพื่อเพิ่มการเข้าร่วมกลุ่ม/ชมรม ของผู้สูงอายุ (11) เพื่อลดจำนวนผู้สูงอายุทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน (12) เพื่อลดจำนวนผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง (13) เพื่อเพิ่มจำนวนผู้สูงอายุ ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (14) เพื่อเพิ่มจำนวนผู้สูงอายุ ที่มีการบริโภคอาหารปลอดภัยและเพียงพอ (15) เพื่อลด จำนวนผู้สูงอายุที่ติดการบริโภคอาหารหวาน มัน เค็ม (16) 1. เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุออกกำลังกายเพื่อสุขภาพเป็นประจำ สม่ำเสมอและต่อเนื่อง ส่งผลให้มีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรงและจิตใจที่ดีลดภาวการณ์เจ็บป่วยด้วยโรคต่างๆ  2. เพื่อป้องกันภาวะซึมเศร้า ลดความเครียด และลดความแปรปรวนของอารมณ์ในผู้สูงอายุ  3. เพื่อให้ผู้สูงอายุได้ใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์  4. เพื่ออนุรักษ์วัฒนธรรมที่ดีงามของไทย

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดประชุมคณะทำงานของชมรมผู้สูงอายุตำบลปากคม (2) เขียนโครงการ/เสนอโครงการ/ขออนุมัติโครงการ (3) ประชาสัมพันธ์โครงการและติดต่อประสานงานผู้เข้าร่วมโครงการที่เกี่ยวข้อง และกลุ่มเป้าหมาย (4) ดำเนินงานตามโครงการ (5) รายงานผลการดำเนินงานให้คณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลปากคมทราบ (6) ค่าป้ายโครงการ ขนาด 0.9 *2.0 เมตร จำนวน  1  ป้าย (7) ค่าตอบแทนวิทยากร ชั่วโมงละ 200 บาทวันละ 2 ชั่วโมง 1 คนจำนวน 20 วัน (8) ค่าจัดซื้อวัสดุฝึกอบรม (กลองยาวขนาด 12 นิ้ว) จำนวน 6 ใบๆละ 1,600 บาท

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการกลองยาวเพื่อสุขภาพ สืบสานวัฒนธรรมไทย ตำบลปากคม ปีงบประมาณ 2566 จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 66-L1535-2-10

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายสมคิด ศรีโภคา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด