ศูนย์เด็กเล็กปลอดโรค
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ ศูนย์เด็กเล็กปลอดโรค ”
ตำบลป่าบอน อำเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
นางวิไล บูรณะ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ป่าบอน
กรกฎาคม 2566
ชื่อโครงการ ศูนย์เด็กเล็กปลอดโรค
ที่อยู่ ตำบลป่าบอน อำเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ L3342 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 27 กรกฎาคม 2566 ถึง 27 กรกฎาคม 2566
กิตติกรรมประกาศ
"ศูนย์เด็กเล็กปลอดโรค จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลป่าบอน อำเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ป่าบอน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
ศูนย์เด็กเล็กปลอดโรค
บทคัดย่อ
โครงการ " ศูนย์เด็กเล็กปลอดโรค " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลป่าบอน อำเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ L3342 ระยะเวลาการดำเนินงาน 27 กรกฎาคม 2566 - 27 กรกฎาคม 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 29,745.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ป่าบอน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
เด็กเป็นทรัพยากรบุคคลที่มีคุณค่า และเป็นอนาคตที่สำคัญของชาติ ในหลายประเทศล้วนมุ่งเน้นการ
พัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ซึ่งจะต้องเริ่มต้นจากเด็ก โดยเฉพาะเด็กระดับปฐมวัย ซึ่งเป็นช่วงที่เริ่มมีการพัฒนาในด้านต่างๆ ได้อย่างรวดเร็ว ทั้งทางด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจสติปัญญา และสังคม เด็กในวัยนี้ถ้าจะได้รับการเลี้ยงดูที่เหมาะสม มีการตอบสนองความต้องการขั้นพื้นฐาน และมีการส่งเสริมพัฒนาการที่ดีในแต่ละด้านรวมถึงการมีสุขภาพดี ไม่เจ็บไม่ป่วย ก็จะทำให้เด็กนั้นมีความสุข และเติบโตเป็นผู้ใหญ่ที่มีคุณภาพในอนาคต ในปัจจุบันมีเด็กอายุต่ำกว่า ๕ ปี เป็นเด็กก่อนวัยเรียน เข้าศึกษาในศูนย์เด็กเล็ก ซึ่งเป็นสถานที่ที่เด็กอยู่รวมกันเป็นจำนวนมาก เมื่อเจ็บป่วยไม่สบายจะสามารถแพร่เชื้อโรคติดต่อสู่กันได้ง่าย เด็กเล็กมีภูมิต้านทานต่ำจะป่วยได้บ่อยโรคที่พบบ่อยได้แก่ โรคติดเชื้อทางเดินหายใจโรคมือเท้า ปากโรคอุจจาระร่วงเฉียบพลัน โรคไข้เลือดออก และ โรคผิวหนัง เป็นต้น ส่งผลกระทบต่อพัฒนาการและสุขภาพโดยรวมของเด็ก การระบาดของโรคมือ เท้า ปาก อาจต้องปิดโรงเรียน มีค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาล ผู้ปกครองต้องหยุดงาน เพื่อดูแลเด็กที่บ้าน ทำให้ขาดรายได้และปัจจุบันยังมีโรคโควิด 19 ที่กำลังแพร่ระบาดกันทั่วโลกและยังไม่มีวัคซีนป้องกันจึงจำเป็นต้องให้ความสำคัญกับการดำเนินงานด้านการเฝ้าระวัง การป้องกันและควบคุมโรคติดต่อในศูนย์เด็กเล็กให้มีประสิทธิภาพ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านป่าบอนต่ำได้เล็งเห็นความสำคัญของการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อใน ศูนย์เด็กเล็ก จึงได้จัดทำโครงการศูนย์เด็กเล็กปลอดโรค เพื่อให้เด็กมีสุขภาพอนามัยที่สมบูรณ์แข็งแรง มีพัฒนาการที่เหมาะสมตามวัยและยังเป็นการเตรียมความพร้อมรับมือกับการป้องกันการระบาดของโรคติดต่อในเด็กซึ่งอาจจะเกิดขึ้นในอนาคต
ดังนั้นทางศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านป่าบอนต่ำจึงเล็งเห็นความสำคัญจึงจัดทำโครงการศูนย์เด็กเล็กปลอด
โรคขึ้นเพื่อให้ครู ผู้ดูแลเด็ก และผู้ปกครองศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านป่าบอนต่ำได้เข้าใจและเฝ้าระวังโรคติดต่อได้ถูกต้อง
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1เพื่อให้ครู ผู้ปกครอง มีความรู้และตระหนักถึงความสำคัญของการส่งเสริมสุขภาพ และป้องกันโรคในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
- 2เพื่อส่งเสริมทักษะการดูแลตนเองที่จำเป็นสำหรับเด็ก
- เพื่อปรับปรุงสภาพแวดล้อมในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กให้ปลอดภัยและปลอดโรค
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
54
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1ครู ผู้ปกครอง มีความรู้และตระหนักถึงความสำคัญของการส่งเสริมสุขภาพ และป้องกันโรคของเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
2เด็กมีทักษะการดูแลตนเองที่จำเป็นที่ถูกต้อง
3ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีสภาพแวดล้อมที่ปลอดภัย ปลอดโรค
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1เพื่อให้ครู ผู้ปกครอง มีความรู้และตระหนักถึงความสำคัญของการส่งเสริมสุขภาพ และป้องกันโรคในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
ตัวชี้วัด : ครู ผู้ปกครองงมีความรู้และตระหนักถึงความสำคัญของการส่งเสริมสุขภาพ และป้องกันโรคในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
2
2เพื่อส่งเสริมทักษะการดูแลตนเองที่จำเป็นสำหรับเด็ก
ตัวชี้วัด : เด็กมีทักษะการดูแลตนเองที่จำเป็นที่ถูกต้อง
3
เพื่อปรับปรุงสภาพแวดล้อมในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กให้ปลอดภัยและปลอดโรค
ตัวชี้วัด : ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีสภาพแวดล้อมที่ปลอดภัย ปลอดโรค
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
54
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
54
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1เพื่อให้ครู ผู้ปกครอง มีความรู้และตระหนักถึงความสำคัญของการส่งเสริมสุขภาพ และป้องกันโรคในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก (2) 2เพื่อส่งเสริมทักษะการดูแลตนเองที่จำเป็นสำหรับเด็ก (3) เพื่อปรับปรุงสภาพแวดล้อมในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กให้ปลอดภัยและปลอดโรค
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
ศูนย์เด็กเล็กปลอดโรค จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ L3342
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางวิไล บูรณะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ ศูนย์เด็กเล็กปลอดโรค ”
ตำบลป่าบอน อำเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
นางวิไล บูรณะ
กรกฎาคม 2566
ที่อยู่ ตำบลป่าบอน อำเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ L3342 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 27 กรกฎาคม 2566 ถึง 27 กรกฎาคม 2566
กิตติกรรมประกาศ
"ศูนย์เด็กเล็กปลอดโรค จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลป่าบอน อำเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ป่าบอน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
ศูนย์เด็กเล็กปลอดโรค
บทคัดย่อ
โครงการ " ศูนย์เด็กเล็กปลอดโรค " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลป่าบอน อำเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ L3342 ระยะเวลาการดำเนินงาน 27 กรกฎาคม 2566 - 27 กรกฎาคม 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 29,745.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ป่าบอน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
เด็กเป็นทรัพยากรบุคคลที่มีคุณค่า และเป็นอนาคตที่สำคัญของชาติ ในหลายประเทศล้วนมุ่งเน้นการ พัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ซึ่งจะต้องเริ่มต้นจากเด็ก โดยเฉพาะเด็กระดับปฐมวัย ซึ่งเป็นช่วงที่เริ่มมีการพัฒนาในด้านต่างๆ ได้อย่างรวดเร็ว ทั้งทางด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจสติปัญญา และสังคม เด็กในวัยนี้ถ้าจะได้รับการเลี้ยงดูที่เหมาะสม มีการตอบสนองความต้องการขั้นพื้นฐาน และมีการส่งเสริมพัฒนาการที่ดีในแต่ละด้านรวมถึงการมีสุขภาพดี ไม่เจ็บไม่ป่วย ก็จะทำให้เด็กนั้นมีความสุข และเติบโตเป็นผู้ใหญ่ที่มีคุณภาพในอนาคต ในปัจจุบันมีเด็กอายุต่ำกว่า ๕ ปี เป็นเด็กก่อนวัยเรียน เข้าศึกษาในศูนย์เด็กเล็ก ซึ่งเป็นสถานที่ที่เด็กอยู่รวมกันเป็นจำนวนมาก เมื่อเจ็บป่วยไม่สบายจะสามารถแพร่เชื้อโรคติดต่อสู่กันได้ง่าย เด็กเล็กมีภูมิต้านทานต่ำจะป่วยได้บ่อยโรคที่พบบ่อยได้แก่ โรคติดเชื้อทางเดินหายใจโรคมือเท้า ปากโรคอุจจาระร่วงเฉียบพลัน โรคไข้เลือดออก และ โรคผิวหนัง เป็นต้น ส่งผลกระทบต่อพัฒนาการและสุขภาพโดยรวมของเด็ก การระบาดของโรคมือ เท้า ปาก อาจต้องปิดโรงเรียน มีค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาล ผู้ปกครองต้องหยุดงาน เพื่อดูแลเด็กที่บ้าน ทำให้ขาดรายได้และปัจจุบันยังมีโรคโควิด 19 ที่กำลังแพร่ระบาดกันทั่วโลกและยังไม่มีวัคซีนป้องกันจึงจำเป็นต้องให้ความสำคัญกับการดำเนินงานด้านการเฝ้าระวัง การป้องกันและควบคุมโรคติดต่อในศูนย์เด็กเล็กให้มีประสิทธิภาพ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านป่าบอนต่ำได้เล็งเห็นความสำคัญของการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อใน ศูนย์เด็กเล็ก จึงได้จัดทำโครงการศูนย์เด็กเล็กปลอดโรค เพื่อให้เด็กมีสุขภาพอนามัยที่สมบูรณ์แข็งแรง มีพัฒนาการที่เหมาะสมตามวัยและยังเป็นการเตรียมความพร้อมรับมือกับการป้องกันการระบาดของโรคติดต่อในเด็กซึ่งอาจจะเกิดขึ้นในอนาคต ดังนั้นทางศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านป่าบอนต่ำจึงเล็งเห็นความสำคัญจึงจัดทำโครงการศูนย์เด็กเล็กปลอด โรคขึ้นเพื่อให้ครู ผู้ดูแลเด็ก และผู้ปกครองศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านป่าบอนต่ำได้เข้าใจและเฝ้าระวังโรคติดต่อได้ถูกต้อง
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1เพื่อให้ครู ผู้ปกครอง มีความรู้และตระหนักถึงความสำคัญของการส่งเสริมสุขภาพ และป้องกันโรคในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
- 2เพื่อส่งเสริมทักษะการดูแลตนเองที่จำเป็นสำหรับเด็ก
- เพื่อปรับปรุงสภาพแวดล้อมในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กให้ปลอดภัยและปลอดโรค
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 54 | |
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1ครู ผู้ปกครอง มีความรู้และตระหนักถึงความสำคัญของการส่งเสริมสุขภาพ และป้องกันโรคของเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 2เด็กมีทักษะการดูแลตนเองที่จำเป็นที่ถูกต้อง 3ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีสภาพแวดล้อมที่ปลอดภัย ปลอดโรค
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1เพื่อให้ครู ผู้ปกครอง มีความรู้และตระหนักถึงความสำคัญของการส่งเสริมสุขภาพ และป้องกันโรคในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ตัวชี้วัด : ครู ผู้ปกครองงมีความรู้และตระหนักถึงความสำคัญของการส่งเสริมสุขภาพ และป้องกันโรคในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก |
|
|||
2 | 2เพื่อส่งเสริมทักษะการดูแลตนเองที่จำเป็นสำหรับเด็ก ตัวชี้วัด : เด็กมีทักษะการดูแลตนเองที่จำเป็นที่ถูกต้อง |
|
|||
3 | เพื่อปรับปรุงสภาพแวดล้อมในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กให้ปลอดภัยและปลอดโรค ตัวชี้วัด : ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีสภาพแวดล้อมที่ปลอดภัย ปลอดโรค |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 54 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 54 | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1เพื่อให้ครู ผู้ปกครอง มีความรู้และตระหนักถึงความสำคัญของการส่งเสริมสุขภาพ และป้องกันโรคในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก (2) 2เพื่อส่งเสริมทักษะการดูแลตนเองที่จำเป็นสำหรับเด็ก (3) เพื่อปรับปรุงสภาพแวดล้อมในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กให้ปลอดภัยและปลอดโรค
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
ศูนย์เด็กเล็กปลอดโรค จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ L3342
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางวิไล บูรณะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......