โครงการแกนนำป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าในชุมชน ปีงบประมาณ 2566
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการแกนนำป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าในชุมชน ปีงบประมาณ 2566 ”
หัวหน้าโครงการ
นายอุสมาน แวหะยี
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเตงนอก
กันยายน 2566
ชื่อโครงการ โครงการแกนนำป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าในชุมชน ปีงบประมาณ 2566
ที่อยู่ จังหวัด
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง 44
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 19 มิถุนายน 2566 ถึง 30 กันยายน 2566
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการแกนนำป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าในชุมชน ปีงบประมาณ 2566 จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเตงนอก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการแกนนำป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าในชุมชน ปีงบประมาณ 2566
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการแกนนำป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าในชุมชน ปีงบประมาณ 2566 " ดำเนินการในพื้นที่ รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 19 มิถุนายน 2566 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 16,810.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเตงนอก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ด้วยประเทศไทยได้มีนโยบายที่จะกำจัดโรคพิษสุนัขบ้าให้หมดไป ภายใต้โครงการสัตว์ปลอดโรค คนปลอดภัยจากโรคพิษสุนัขบ้า ตามพระปณิธาน ศาสตรจารย์ ดร.สมเด็จเจ้าฟ้าฯ กรมพระศรีสวางควัฒน วรขัตติยราชนารี ซึ่งสอดคล้องกับที่องค์การอนามัยโลก (WHO) และองค์การโรคระบาดสัตว์ระหว่างประเทศ (OIE) ได้ตั้งเป้าหมายของการฉีดวัคซีนที่จะทำให้เกิดภูมิคุ้มกันต่อโรคพิษสุนัขบ้าอย่างมีประสิทธิภาพ โดยสุนัขและแมวจะต้องได้รับการฉีดวัคซีนอย่างน้อย ร้อยละ 80 ของจำนวนสุนัขและแมวในพื้นที่ ในปัจจุบันยังมีการปล่อยทิ้งสุนัขในที่สาธารณะซึ่งเป็นสาเหตุทำให้มีจำนวนสุนัขจรจัดเพิ่มขึ้น และประชากรบางส่วนยังขาดความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องในการควบคุมป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า ดังนั้นการจัดอบรมให้ความรู้เรื่องโรคพิษสุนัขบ้า จะสามารถส่งเสริมให้ประชาชนที่เลี้ยงสุนัขและแมว ตระหนักถึงอันตรายของโรคดังกล่าว และเห็นความสำคัญของการนำสัตว์เลี้ยงไปฉีดวัคซีนป้องกันโรค ซึ่งจะช่วยลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคพิษสุนัขบ้าได้
เทศบาลเมืองสะเตงนอก ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญของโรคพิษสุนัขบ้า ประกอบกับพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ.2496 และแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 13) พ.ศ.2552 ส่วนที่ 3 หน้าที่ของเทศบาลเมือง มาตรา 53 ภายใต้บังคับแห่งกฎหมายกำหนดให้เทศบาลเมือง มีหน้าที่ต้องทำในเขตเทศบาลเมือง ดังต่อไปนี้ (1) กิจการตามที่ระบุไว้ในมาตรา 50 คือมีหน้าที่ในการป้องกันและระงับโรคติดต่อ จึงได้จัดทำโครงการแกนนำป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าในชุมชนเพื่อให้แกนนำชุมชนมีความรู้ ความเข้าใจเรื่องโรคพิษสุนัขบ้า และสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปถ่ายทอดให้กับประชาชนในพื้นที่ได้
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1.เพื่อเสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจเรื่องโรคพิษสุนัขบ้าให้แกนนำชุมชน สามารถนำความรู้ที่ได้รับสื่อสารกับประชนชนได้อย่างถูกต้อง
- 2.เพื่อให้ประชาชนในพื้นที่มีความปลอดภัยจากโรคพิษสุนัขบ้า
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- การอบรมให้ความรู้การป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
78
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.ประชาชนในชุมชนเกิดความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับโรคพิษสุนัขบ้า เกิดความตระหนักในการเลี้ยงสุนัขและแมวอย่างถูกวิธี มีความรับผิดชอบ และไม่ปล่อยสัตว์เลี้ยงให้เป็นสัตว์จรจัด
2.ไม่มีผู้เสียชีวิตด้วยโรคพิษสุนัขบ้า
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. การอบรมให้ความรู้การป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า
วันที่ 7 กันยายน 2566 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
1.ประสานวิทยากรและขอรายชื่อผู้เข้ารับการอบรม
2.แจ้งเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องทราบและวางแผนการดำเนินงาน
3.จัดอบรมให้ความรู้เรื่องโรคพิษสุนัขบ้า ตามวันเวลา และสถานที่ที่กำหนด
4.ทำแบบประเมินความรู้หลังเข้ารับการอบรม
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
1.ประชาชนในชุมชนเกิดความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับโรคพิษสุนัขบ้า เกิดความตระหนักในการเลี้ยงสุนัขและแมวอย่างถูกวิธี มีความรับผิดชอบ และไม่ปล่อยสัตว์เลี้ยงให้เป็นสัตว์จรจัด
2.ไม่มีผู้เสียชีวิตด้วยโรคพิษสุนัขบ้า
0
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1.เพื่อเสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจเรื่องโรคพิษสุนัขบ้าให้แกนนำชุมชน สามารถนำความรู้ที่ได้รับสื่อสารกับประชนชนได้อย่างถูกต้อง
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของแกนนำชุมชนมีความรู้ ความเข้าใจเรื่องโรคพิษสุนัขบ้า สามารถนำความรู้ที่ได้รับสื่อสารกับประชาชนได้อย่างถูกต้อง
0.00
2
2.เพื่อให้ประชาชนในพื้นที่มีความปลอดภัยจากโรคพิษสุนัขบ้า
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 ของประชาชนในพื้นที่ปลอดภัยจากโรคพิษสุนัขบ้า
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
78
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
78
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อเสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจเรื่องโรคพิษสุนัขบ้าให้แกนนำชุมชน สามารถนำความรู้ที่ได้รับสื่อสารกับประชนชนได้อย่างถูกต้อง (2) 2.เพื่อให้ประชาชนในพื้นที่มีความปลอดภัยจากโรคพิษสุนัขบ้า
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) การอบรมให้ความรู้การป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการแกนนำป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าในชุมชน ปีงบประมาณ 2566 จังหวัด
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายอุสมาน แวหะยี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการแกนนำป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าในชุมชน ปีงบประมาณ 2566 ”
หัวหน้าโครงการ
นายอุสมาน แวหะยี
กันยายน 2566
ที่อยู่ จังหวัด
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง 44
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 19 มิถุนายน 2566 ถึง 30 กันยายน 2566
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการแกนนำป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าในชุมชน ปีงบประมาณ 2566 จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเตงนอก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการแกนนำป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าในชุมชน ปีงบประมาณ 2566
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการแกนนำป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าในชุมชน ปีงบประมาณ 2566 " ดำเนินการในพื้นที่ รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 19 มิถุนายน 2566 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 16,810.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเตงนอก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ด้วยประเทศไทยได้มีนโยบายที่จะกำจัดโรคพิษสุนัขบ้าให้หมดไป ภายใต้โครงการสัตว์ปลอดโรค คนปลอดภัยจากโรคพิษสุนัขบ้า ตามพระปณิธาน ศาสตรจารย์ ดร.สมเด็จเจ้าฟ้าฯ กรมพระศรีสวางควัฒน วรขัตติยราชนารี ซึ่งสอดคล้องกับที่องค์การอนามัยโลก (WHO) และองค์การโรคระบาดสัตว์ระหว่างประเทศ (OIE) ได้ตั้งเป้าหมายของการฉีดวัคซีนที่จะทำให้เกิดภูมิคุ้มกันต่อโรคพิษสุนัขบ้าอย่างมีประสิทธิภาพ โดยสุนัขและแมวจะต้องได้รับการฉีดวัคซีนอย่างน้อย ร้อยละ 80 ของจำนวนสุนัขและแมวในพื้นที่ ในปัจจุบันยังมีการปล่อยทิ้งสุนัขในที่สาธารณะซึ่งเป็นสาเหตุทำให้มีจำนวนสุนัขจรจัดเพิ่มขึ้น และประชากรบางส่วนยังขาดความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องในการควบคุมป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า ดังนั้นการจัดอบรมให้ความรู้เรื่องโรคพิษสุนัขบ้า จะสามารถส่งเสริมให้ประชาชนที่เลี้ยงสุนัขและแมว ตระหนักถึงอันตรายของโรคดังกล่าว และเห็นความสำคัญของการนำสัตว์เลี้ยงไปฉีดวัคซีนป้องกันโรค ซึ่งจะช่วยลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคพิษสุนัขบ้าได้ เทศบาลเมืองสะเตงนอก ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญของโรคพิษสุนัขบ้า ประกอบกับพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ.2496 และแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 13) พ.ศ.2552 ส่วนที่ 3 หน้าที่ของเทศบาลเมือง มาตรา 53 ภายใต้บังคับแห่งกฎหมายกำหนดให้เทศบาลเมือง มีหน้าที่ต้องทำในเขตเทศบาลเมือง ดังต่อไปนี้ (1) กิจการตามที่ระบุไว้ในมาตรา 50 คือมีหน้าที่ในการป้องกันและระงับโรคติดต่อ จึงได้จัดทำโครงการแกนนำป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าในชุมชนเพื่อให้แกนนำชุมชนมีความรู้ ความเข้าใจเรื่องโรคพิษสุนัขบ้า และสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปถ่ายทอดให้กับประชาชนในพื้นที่ได้
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1.เพื่อเสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจเรื่องโรคพิษสุนัขบ้าให้แกนนำชุมชน สามารถนำความรู้ที่ได้รับสื่อสารกับประชนชนได้อย่างถูกต้อง
- 2.เพื่อให้ประชาชนในพื้นที่มีความปลอดภัยจากโรคพิษสุนัขบ้า
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- การอบรมให้ความรู้การป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 78 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.ประชาชนในชุมชนเกิดความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับโรคพิษสุนัขบ้า เกิดความตระหนักในการเลี้ยงสุนัขและแมวอย่างถูกวิธี มีความรับผิดชอบ และไม่ปล่อยสัตว์เลี้ยงให้เป็นสัตว์จรจัด
2.ไม่มีผู้เสียชีวิตด้วยโรคพิษสุนัขบ้า
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. การอบรมให้ความรู้การป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า |
||
วันที่ 7 กันยายน 2566 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ1.ประสานวิทยากรและขอรายชื่อผู้เข้ารับการอบรม 2.แจ้งเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องทราบและวางแผนการดำเนินงาน 3.จัดอบรมให้ความรู้เรื่องโรคพิษสุนัขบ้า ตามวันเวลา และสถานที่ที่กำหนด 4.ทำแบบประเมินความรู้หลังเข้ารับการอบรม ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น1.ประชาชนในชุมชนเกิดความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับโรคพิษสุนัขบ้า เกิดความตระหนักในการเลี้ยงสุนัขและแมวอย่างถูกวิธี มีความรับผิดชอบ และไม่ปล่อยสัตว์เลี้ยงให้เป็นสัตว์จรจัด 2.ไม่มีผู้เสียชีวิตด้วยโรคพิษสุนัขบ้า
|
0 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1.เพื่อเสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจเรื่องโรคพิษสุนัขบ้าให้แกนนำชุมชน สามารถนำความรู้ที่ได้รับสื่อสารกับประชนชนได้อย่างถูกต้อง ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของแกนนำชุมชนมีความรู้ ความเข้าใจเรื่องโรคพิษสุนัขบ้า สามารถนำความรู้ที่ได้รับสื่อสารกับประชาชนได้อย่างถูกต้อง |
0.00 |
|
||
2 | 2.เพื่อให้ประชาชนในพื้นที่มีความปลอดภัยจากโรคพิษสุนัขบ้า ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 ของประชาชนในพื้นที่ปลอดภัยจากโรคพิษสุนัขบ้า |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 78 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 78 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อเสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจเรื่องโรคพิษสุนัขบ้าให้แกนนำชุมชน สามารถนำความรู้ที่ได้รับสื่อสารกับประชนชนได้อย่างถูกต้อง (2) 2.เพื่อให้ประชาชนในพื้นที่มีความปลอดภัยจากโรคพิษสุนัขบ้า
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) การอบรมให้ความรู้การป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการแกนนำป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าในชุมชน ปีงบประมาณ 2566 จังหวัด
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายอุสมาน แวหะยี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......