กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการสุขภาพสร้างได้ สไตล์ไสอ้อ
รหัสโครงการ 66-L3346-2-13
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ชมรม อสม. หมู่ที่ 5
วันที่อนุมัติ 9 มีนาคม 2566
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 26 มิถุนายน 2566 - 30 กันยายน 2566
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2566
งบประมาณ 14,150.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางจรูญลักษณ์ รุ่งทวีชัย
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลบ้านพร้าว อำเภอป่าพะยอม จังหวัดพัทลุง
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานขยะ
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 30 ก.ย. 2566 14,150.00
รวมงบประมาณ 14,150.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 40 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ในสถานการณ์ปัจจุบันพบว่าปัญหาขยะมูลฝอยเป็นปัญหาสำคัญระดับโลกที่ทุกประเทศให้ความสำคัญ หากปัญหาเหล่านี้ไม่ได้ให้ความสำคัญหรือได้รับการจัดการที่ไม่ถูกวิธี ก็จะเป็นมลภาวะที่เป็นพิษก่อให้เกิดแหล่งเพาะพันธุ์โรคต่างๆ ซึ่งส่งผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชนในพื้นที่ตำบลบ้านพร้าว ขณะนี้ในเขตความรับผิดชอบของเทศบาลตำบลบ้านพร้าวมีขยะที่ต้องจัดเก็บทั้งหมดมากว่า 100 ตัน/เดือน ซึ่งถือว่ามีจำนวนมากและมีแนวโน้มที่จะมีขยะเพิ่มขึ้นเรื่อยจากการขยายตัวของเมือง ฉะนั้นการจัดการขยะต้นทางจึงถือเป็นเรื่องสำคัญที่หากครัวเรือนให้ความสำคัญจะทำให้ลดปริมาณขยะลงได้มากรวมถึงเกษตรกรใช้สารเคมีโดยที่ไม่รู้จักวิธีป้องกันที่ถูกวิธีซึ่งอาจส่งผลกระทบต่อสุขภาพ ในการนี้ทางชมรม อสม.หมู่ที่ 5 ตำบลบ้านพร้าวจึงได้จัดทำโครงการสุขภาพดีสร้างได้ สไตล์ใสอ้อ เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ในการจัดการขยะส่งเสริมการปลูกผักปลอดสารพิษ เพื่อสุขอนามัยที่ดีของประชาชนในชุมชนต่อไป

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้ประชาชนในพื้นที่มีความรู้ในการคัดแยกขยะต้นทางในครัวเรือน

ร้อยละ 60 ประชาชนในพื้นที่มีความรู้ในการคัดแยกขยะต้นทางในครัวเรือน

60.00 60.00
2 เพื่อส่งเสริมการปลูกผักปลอดสารพิษในครัวเรือน

ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมายปลูกผักปลอดสารพิษไว้รับประทานเอง

80.00 80.00
3 เพื่อตรวจสารเคมีตกค้างในเลือดของประชาชนกลุ่มเป้าหมาย

ร้อยละ 100 ของประชาชนกลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจสารเคมีตกค้างในเลือด

80.00 100.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
วันที่ชื่อกิจกรรมกลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)

วัตถุประสงค์ข้อที่ 1 : เพื่อให้ประชาชนในพื้นที่มีความรู้ในการคัดแยกขยะต้นทางในครัวเรือน

รวม 0 0.00 0 0.00

วัตถุประสงค์ข้อที่ 2 : เพื่อส่งเสริมการปลูกผักปลอดสารพิษในครัวเรือน

รวม 0 0.00 0 0.00

วัตถุประสงค์ข้อที่ 3 : เพื่อตรวจสารเคมีตกค้างในเลือดของประชาชนกลุ่มเป้าหมาย

รวม 0 0.00 0 0.00

ไม่ระบุวัตถุประสงค์

26 มิ.ย. 66 - 30 ก.ย. 66 ตรวจสารเคมีตกค้างในเลือด 3,350.00 -
26 มิ.ย. 66 - 30 ก.ย. 66 รณรงค์และอบรมการกำจัดขยะเปียกในครัวเรือน 5,900.00 -
26 มิ.ย. 66 - 30 ก.ย. 66 ส่งเสริมการปลูกผักปลอดสารพิษ 4,900.00 -

หมายเหตุ : งบประมาณ และ ค่าใช้จ่าย รวมทุกวัตถุประสงค์อาจจะไม่เท่ากับงบประมาณรวมได้

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ประชาชนในชุมชนได้รับการเฝ้าระวังสุขภาพ 2.ชุมชนมีครัวเรือนต้นแบบในการจัดการขยะที่ต้นทาง 3.ชุมชนมีผักปลอดสารพิษไว้รับประทานในครัวเรือน

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 26 มิ.ย. 2566 00:00 น.