กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคลองขุด


“ โครงการส่งเสริมป้องกันและลดอุบัติเหตุจากการใช้รถ ใช้ถนน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลคลองขุด ”

ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลคลองขุด

หัวหน้าโครงการ
นางสาวนิตยา เซ่งขิม

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมป้องกันและลดอุบัติเหตุจากการใช้รถ ใช้ถนน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลคลองขุด

ที่อยู่ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลคลองขุด จังหวัด

รหัสโครงการ L5300-66-3-8 เลขที่ข้อตกลง 38/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมป้องกันและลดอุบัติเหตุจากการใช้รถ ใช้ถนน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลคลองขุด จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลคลองขุด

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคลองขุด ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมป้องกันและลดอุบัติเหตุจากการใช้รถ ใช้ถนน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลคลองขุด



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมป้องกันและลดอุบัติเหตุจากการใช้รถ ใช้ถนน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลคลองขุด " ดำเนินการในพื้นที่ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลคลองขุด รหัสโครงการ L5300-66-3-8 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2566 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 12,510.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคลองขุด เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ในปัจจุบันอุบัติเหตุที่เกิดขึ้นจากยานพาหนะมีจำนวนมากและในส่วนของผู้บาดเจ็บที่เกิดจากอุบัติเหตุจากรถจักรยานยนต์ก็มีจำนวนมากเช่นกัน โดยส่วนใหญ่พบว่าผู้ได้รับบาดเจ็บและเสียชีวิตไม่มีการสวมหมวกนิรภัย เนื่องมาจากผู้ขับขี่ขาดระเบียบวินัยและไม่ปฏิบัติตามกฎจราจร ทำให้เกิดการสูญเสียทรัพย์สินและทรัพยากรปัญหาอุบัติเหตุเป็นปัญหาที่ป้องกันได้ หากทุกฝ่ายทุกคนให้ความร่วมมือในการป้องกัน และแก้ไขปัญหาแบบมีส่วนร่วม ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลคลองขุด มีนักเรียนที่เข้ามาเรียนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ในปีการศึกษา ๒๕๖๖ จำนวน ๒๓๐ คน โดยมีนักเรียนที่อยู่ใกล้และไกลต่างกันไป ทั้งนี้การเดินทางของนักเรียนผู้ปกครองมารับและมาส่งด้วยรถจักรยานยนต์ ทางศูนย์พัฒนาเด็กเล็กได้สังเกตพฤติกรรมการขับขี่รถจักรยานยนต์ของผู้ปกครองที่มาส่งเด็กนักเรียนรวมทั้งนักเรียนนั่งซ้อนมาด้วยนั้นพบว่ามีจำนวนน้อยมากที่มีการสวมหมวกนิรภัยเพื่อความปลอดภัยซึ่งอัตราการใช้หมวกนิรภัยจำนวนน้อยนี่เอง สะท้อนให้เห็นถึงความรู้เท่าไม่ถึงการณ์ว่าภัยอันตรายรอบตัวนั้นสามารถเกิดขึ้นได้แบบไม่คาดฝัน ซึ่งเกิดจากความประมาทและเป็นเรื่องที่น่ากังวลที่พ่อแม่และผู้ปกครองหลายๆ คนไม่ตระหนักถึงความสำคัญในการให้บุตรหลานสวมใส่หมวกนิรภัยขณะเดินทางด้วยรถจักรยานยนต์ แล้วก็ยังมีอีกหลายครอบครัวที่แม้จะสวมหมวกนิรภัยให้เด็ก แต่กลับไม่รู้ว่าจะเลือกใช้หมวกนิรภัยที่มีคุณภาพ มีขนาดพอดีกับศีรษะเด็ก และจะสวมใส่หมวกนิรภัยให้เด็กอย่างถูกวิธีได้อย่างไร ด้วยเหตุนี้ การรณรงค์ส่งเสริมการสวมหมวกนิรภัยและและการเลือกใช้หมวกนิรภัยที่ได้มาตรฐาน รวมถึงการเรียนรู้วิธีการใช้ถนนอย่างถูกต้อง จึงเป็นจุดเริ่มต้นที่สำคัญในการป้องกันและสร้างความตระหนักถึงความปลอดภัยบนท้องถนน เพื่อลดการสูญเสียจากอุบัติเหตุ ดังนั้นเพื่อกระตุ้นให้เกิดพฤติกรรมที่ถูกต้องในการใช้ถนน การสร้างความรู้ความเข้าใจแก่เด็ก พ่อแม่ และผู้ปกครอง ให้เห็นถึงความสำคัญของการใช้หมวกนิรภัย พร้อมการใช้งานที่ถูกวิธี ซึ่งเป็นเรื่องจำเป็นอย่างมากในการช่วยลดจำนวนตัวเลขผู้บาดเจ็บและเสียชีวิตในเด็ก
โดยเฉพาะอย่างยิ่งเด็กที่ถือเป็นอนาคตของชาติ

ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลคลองขุด ตระหนักถึงความสำคัญของการสร้างความปลอดภัยบนท้องถนนของเด็กนักเรียน และผู้ปกครอง จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมป้องกันและลดอุบัติเหตุจากการใช้รถ ใช้ถนน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลคลองขุด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๖ ขึ้น จึงจัดโครงการให้ความรู้กับผู้ปกครองเกี่ยวกับความปลอดภัยบนท้องถนนและสาธิตการใช้หมวกอย่างถูกวิธีและส่งเสริมให้ผู้ปกครองได้รับความรู้ความเข้าใจในการใช้รถใช้ถนนตามกฎ วินัยจราจร เพื่อความปลอดภัยและลดการสูญเสียที่จะเกิดขึ้นกับเด็กและผู้ปกครองในเรื่องดังกล่าว

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อลดผู้ขับขี่รถที่มีพฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุในพื้นที่ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
  2. เพื่อเพิ่มจำนวนกลุ่มหรือเครือข่ายความปลอดภัยทางถนนในพื้นที่ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดอบรมให้ความรู้
  2. ติดตามการสวมใส่หมวกนิรภัยของผู้ปกครองและเด็กนักเรียน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 200
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 120
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ครูและผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับกฎระเบียบวินัยจราจร รวมถึงการมีจิตสำนึกที่ดีในการใช้รถใช้ถนน อันจะมีส่วนช่วยบรรเทาปัญหาจราจร และช่วยลดอุบัติเหตุที่อาจเกิดขึ้นจากผู้ใช้รถใช้ถนน และส่งผลให้นักเรียนได้เดินทางไปกลับโรงเรียนได้อย่างปลอดภัย โดยการสวมใส่หมวกนิรภัยและได้มาตรฐานขณะเดินทางด้วยรถจักรยานยนต์


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. จัดอบรมให้ความรู้

วันที่ 1 กรกฎาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. จัดอบรมให้ความรู้
    1.1 การใช้ถนนอย่างถูกต้อง 1.2 การเลือกใช้หมวกนิรภัย 1.3 การสวมใส่หมวกนิรภัยให้เด็กอย่างถูกวิธี 1.4 การสาธิตใช้หมวกนิรภัยอย่างถูกวิธีให้กับครู นักเรียน และผู้ปกครอง
  2. การรณรงค์การใช้หมวกนิรภัย           - ผู้ปกครอง ครู เด็กนักเรียน ถือป้ายรณรงค์ร่วมกันขับขี่ปลอดภัยในการใช้หมวกนิรภัย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ครู ผู้ปกครอง เข้าใจกฎวินัยจราจร และมีจิตสำนึกที่ดีในการใช้รถใช้ถนน และช่วยลดอุบัติเหตุจากผู้ใช้รถใช้ถนน

 

0 0

2. ติดตามการสวมใส่หมวกนิรภัยของผู้ปกครองและเด็กนักเรียน

วันที่ 24 สิงหาคม 2566 เวลา 07:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ติดตามการสวมใส่หมวกนิรภัยของผู้ปกครองและเด็กนักเรียน ช่วงเช้ามาโรงเรียน เวลา 07.00 น.-08.00 น. ผู้ปกครองมาส่งนักเรียนมาโรงเรียน ช่วงเย็นหลังเลิกเรียน  เวลา 15.00 น.-16.00 น. ผู้ปกครองมารับนักเรียน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผุ้ปกครอง นักเรียน และบุคลากรทางการศึกษาของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลคลองขุด สวมใส่หมวกนิรภัยที่ได้มาตรฐานและทุกครั้งที่มีการขับขี่รถจักรยานยนต์มาในเขตศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลคลองขุด ร้อยละ 100

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

การดำเนินงาน   Plan (การวางแผน) 1.1 ประชุมวางแผน ปรึกษาหารือผู้ที่เกี่ยวข้องเพื่อจัดทำโครงการส่งเสริมป้องกันและลดอุบัติเหตุจากการ
ใช้รถ ใช้ถนน   1.๒ จัดทำโครงการเพื่อขออนุมัติ Do (การลงมือทำ)     1.3 ดำเนินการตามโครงการ โดยมีกิจกรรม ดังนี้
- จัดอบรมให้ความรู้
- การใช้ถนนอย่างถูกต้อง การเลือกใช้หมวกนิรภัย การใส่หมวกนิรภัยให้เด็กอย่างถูกวิธี สาธิต
และฝึกการสวมใส่หมวกนิรภัยให้เด็ก - ขับขี่มอเตอร์ไซด์พร้อมถือป้ายรณรงค์ในการใช้หมวกนิรภัย   1.4 สรุปและรายงานผลการดำเนินโครงการ
Check (การติดตาม)
    1.5 สรุปและรายงานผลการดำเนินโครงการ
Act (การปรับปรุง)
  1.6 นำผลที่ได้จากการจัดโครงการ มาปรับปรุงแก้ไขข้อบกพร่อง เพื่อนำมาเป็นแนวทางในการจัดครั้งต่อไป สรุปผลการดำเนินงานตามวัตถุประสงค์   10.๑ ผู้เข้าอบรมตระหนักถึงความสำคัญของการใช้หมวกนิรภัย   10.๒ ส่งเสริมการสวมหมวกนิรภัยที่ได้มาตรฐานขณะเดินทางด้วยรถจักรยานยนต์   10.๓ ผู้เข้ารับการอบรมได้รับความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับกฎ ระเบียบ วินัยจราจร รวมถึงการมี
      จิตสำนึกที่ดีในการใช้รถใช้ถนน ปัญหาและอุปสรรค - เนื่องจากช่วงบ่ายของวันดังกล่าวมีการเดินขบวนพาเหรดจึงทำให้ต้องกระชับเวลาในการอบรมให้ เร็วยิ่งขึ้น
ข้อเสนอแนะ ข้อเสนอแนะของผู้รับผิดชอบโครงการ โครงการส่งเสริมป้องกันและลดอุบัติเหตุจากการใช้รถใช้ถนนเป็นโครงการที่ดีเพราะได้ปลูกฝังให้เด็กมีจิตสำนึกที่ดีในการใช้รถใช้ถนน รู้จักการสวมใส่หมวกนิรภัยที่ถูกต้อง เข้าใจกฎระเบียบวินัยจราจรและช่วยลดอุบัติเหตุที่อาจเกิดขึ้นจากผู้ใช้รถใช้ถนน ส่งผลให้นักเรียนได้เดินทางไปกลับโรงเรียนได้อย่างปลอดภัย โดยการสวมใส่หมวกนิรภัยและได้มาตรฐานขณะเดินทางด้วยรถจักรยานยนต์

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อลดผู้ขับขี่รถที่มีพฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุในพื้นที่ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ตัวชี้วัด : ร้อยละผู้ขับขี่รถที่มีพฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุในพื้นที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
54.00 50.00 50.00

 

2 เพื่อเพิ่มจำนวนกลุ่มหรือเครือข่ายความปลอดภัยทางถนนในพื้นที่ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ตัวชี้วัด : จำนวนกลุ่มหรือเครือข่ายความปลอดภัยทางถนนในพื้นที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
1.00 2.00 2.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 320 320
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 200 200
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 120 120
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดผู้ขับขี่รถที่มีพฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุในพื้นที่ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (2) เพื่อเพิ่มจำนวนกลุ่มหรือเครือข่ายความปลอดภัยทางถนนในพื้นที่ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดอบรมให้ความรู้ (2) ติดตามการสวมใส่หมวกนิรภัยของผู้ปกครองและเด็กนักเรียน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมป้องกันและลดอุบัติเหตุจากการใช้รถ ใช้ถนน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลคลองขุด

รหัสโครงการ L5300-66-3-8 รหัสสัญญา 38/2566 ระยะเวลาโครงการ 1 กรกฎาคม 2566 - 30 กันยายน 2566

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

การส่งเสริมป้องกันและลดอุบัติเหตุจากการใช้รถใช้ถนนเป็นโครงการที่ดีเพราะได้ปลูกฝังให้เด็กมีจิตสำนึกที่ดีในการใช้รถใช้ถนน รู้จักการสวมใส่หมวกนิรภัยที่ถูกต้อง เข้าใจกฎระเบียบวินัยจราจรและช่วยลดอุบัติเหตุที่อาจเกิดขึ้นจากผู้ใช้รถใช้ถนน ส่งผลให้นักเรียนได้เดินทางไปกลับโรงเรียนได้อย่างปลอดภัย โดยการสวมใส่หมวกนิรภัยและได้มาตรฐานขณะเดินทางด้วยรถจักรยานยนต์

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

ส่งเสริมป้องกันและลดอุบัติเหตุจากการใช้รถใช้ถนนเป็นโครงการที่ดีเพราะได้ปลูกฝังให้เด็กและผู้ปกครองมีจิตสำนึกที่ดีในการใช้รถใช้ถนน รู้จักการสวมใส่หมวกนิรภัยที่ถูกต้อง เข้าใจกฎระเบียบวินัยจราจรและช่วยลดอุบัติเหตุที่อาจเกิดขึ้นจากผู้ใช้รถใช้ถนน ส่งผลให้นักเรียนได้เดินทางไปกลับโรงเรียนได้อย่างปลอดภัย โดยการสวมใส่หมวกนิรภัยและได้มาตรฐานขณะเดินทางด้วยรถจักรยานยนต์

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

ครู ผู้ปกครองได้รับความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับกฎ ระเบียบ วินัยจราจร รวมถึงการมีจิตสำนึกที่ดีในการใช้รถใช้ถนน และการให้สวมหมวกนิรภัยที่ได้มาตรฐานขณะเดินทางด้วยรถจักรยานยนต์

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

การให้สวมหมวกนิรภัยที่ได้มาตรฐานขณะเดินทางด้วยรถจักรยานยนต์ เมื่อรับ-ส่งนักเรียน

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

โครงการส่งเสริมป้องกันและลดอุบัติเหตุจากการใช้รถ ใช้ถนน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลคลองขุด จังหวัด

รหัสโครงการ L5300-66-3-8

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวนิตยา เซ่งขิม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด