กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการลดเสี่ยง ลดโรค อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม หมู่ที่ 9
รหัสโครงการ 66-L3346-2-17
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ชมรม อสม. หมู่ที่ 9
วันที่อนุมัติ 9 มีนาคม 2566
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 27 มิถุนายน 2566 - 30 กันยายน 2566
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2566
งบประมาณ 17,950.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางทวิพร สร้อยทอง
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลบ้านพร้าว อำเภอป่าพะยอม จังหวัดพัทลุง
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานขยะ
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 28 มิ.ย. 2566 30 ก.ย. 2566 17,950.00
รวมงบประมาณ 17,950.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

เนื่องด้วยสถารการณ์ในปัจจุบันพบว่าประชาชนในชุมชนมีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคจากพฤติกรรมทางสุขภาพที่ไม่เหมาะสม และการมีสื่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการเกิดโรคต่างๆ เช่น โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคไขมันในเลือดสูง โรคหลอดเลือดสมอง และโรคมะเร็ง ในส่วนโรคที่เกิดจากสิ่งแวดล้อมที่ไม่เหมาะสมและการจัดการขยะในครัวเรือนที่ไม่ถูกวิธี เช่น โรคไข้เลือดออก โรคทางเดินหายใจ รวมถึงค่าใช้จ่ายในการจัดการขยะที่มีปริมาณสูงขึ้นทุกปีฉะนั้นจึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่ อสม. ซึ่งเป็นกลุ่มแกนนำทางสุขภาพในชุมชนนั้นต้องมาเป็นแกนนำให้ประชาชนในหมู่บ้านหันมาออกกำลังกาย ส่งเสริมการบริโภคผักปลอดสารพิษ และส่งเสริมให้ทุกครัวเรือนมีการคัดแยกขยะจากครัวเรือนอย่างถูกวิธี เพื่อป้องกันปัญหาสุขภาพดังกล่าว เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีสุขภาพที่แข็งแรงลดกลุ่มเสี่ยง ส่วนกลุ่มเสี่ยงลดการเป็นโรค กลุ่มที่เป็นโรคแล้วป้องกันไม่ให้เกิดภาวะแทรกซ้อน และหากครัวเรือนมรการจัดการขยะที่ถูกวิธีก็จะส่งผลให้ครัวเรือนมีความสะอาด เป็นระเบียบเรียบร้อย ลดต้นทุนค่าใช้จ่ายในการจัดการขยะให้กับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่รับผิดชอบด้วย

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้ประชาชนได้รับความรู้และดูแลสุขภาพตนเองได้ถูกต้องและเหมาะสม

-มีอัตราการป่วยด้วยโรคเรื้อรังลดลง -กลุ่มเสี่ยงได้นำความรู้ไปใช้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมอย่างถูกต้อง

60.00 60.00
2 เพื่อให้ประชาชนมีผักปลอดสารพิษไว้รับประทานในชุมชน

-ประชาชนและกลุ่มเสี่ยงมีผักปลอดสารพิษไว้บริโภคในครัวเรือน

60.00 60.00
3 ครัวเรือนมีความรู้ในการคัดแยกขยะครัวเรือน

ประชาชนและกลุ่มเสี่ยงมีผักปลอดสารพิษไว้บริโภคในครัวเรือน

70.00 70.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 17,950.00 0 0.00
27 มิ.ย. 66 - 30 ก.ย. 66 กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพโดยการอบรมให้ความรู้เรื่องโทษของสารเคมีตกค้างและการเลือกบริโภคและกิจกรรมเจาะสารเคมีตกค้างในเลือด 0 3,850.00 -
27 มิ.ย. 66 - 30 ก.ย. 66 กิจกรรมผักปลอดสารคนปลอดภัย 0 5,650.00 -
27 มิ.ย. 66 - 30 ก.ย. 66 กิจกรรมอบรมให้ความรู้การคัดแยก ขยะและจัดทำถังขยะเปียกครัวเรือน 0 7,150.00 -
27 มิ.ย. 66 - 30 ก.ย. 66 กิจกรรมมอบป้ายครัวเรือนต้นแบบ ดีเด่น/สรุปโครงการ 0 1,300.00 -

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ครัวเรือนมีความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพของตนเองในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมฯ 2.ครัวเรือนมีผักปลอดสารพิษไว้รับประทานอย่างต่อเนื่อง 3.ครัวเรือนมีการคัดแยกขยะที่ถูกวิธีมากขึ้น

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 27 มิ.ย. 2566 00:00 น.