กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาทวีนอก


“ โครงการพัฒนานวัตกรรม ลดขยะ ลดโรค ด้วยหลัก 7 R โรงเรียนสมบูรณ์ศาสน์ ”

โรงเรียนสมบูรณ์ศาสน์ ตำบลนาทวี อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นายอะหมัด หลีขาหรี

ชื่อโครงการ โครงการพัฒนานวัตกรรม ลดขยะ ลดโรค ด้วยหลัก 7 R โรงเรียนสมบูรณ์ศาสน์

ที่อยู่ โรงเรียนสมบูรณ์ศาสน์ ตำบลนาทวี อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 66-L7892-2-6 เลขที่ข้อตกลง 8/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2566 ถึง 31 ธันวาคม 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการพัฒนานวัตกรรม ลดขยะ ลดโรค ด้วยหลัก 7 R โรงเรียนสมบูรณ์ศาสน์ จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน โรงเรียนสมบูรณ์ศาสน์ ตำบลนาทวี อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาทวีนอก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนานวัตกรรม ลดขยะ ลดโรค ด้วยหลัก 7 R โรงเรียนสมบูรณ์ศาสน์



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการพัฒนานวัตกรรม ลดขยะ ลดโรค ด้วยหลัก 7 R โรงเรียนสมบูรณ์ศาสน์ " ดำเนินการในพื้นที่ โรงเรียนสมบูรณ์ศาสน์ ตำบลนาทวี อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 66-L7892-2-6 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2566 - 31 ธันวาคม 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 30,220.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาทวีนอก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากการสำรวจข้อมูลสถานการณ์ปัญหาขยะในโรงเรียนสมบูรณ์ศาสน์ พบว่า มีปริมาณขยะเฉลี่ยประมาณ 100 กิโลกรัมต่อวัน ในขณะที่โรงเรียนยังขาดแกนนำด้านการจัดการขยะในโรงเรียน ไม่มีการกำหนดมาตรการด้านการจัดการขยะ และไม่มีการพัฒนานวัตกรรมการจัดการขยะในโรงเรียน โรงเรียนสมบูรณ์ศาสน์ จึงจัดโครงการพัฒนานวัตกรรม ลดขยะ ลดโรค ด้วยหลัก 7 R โรงเรียนสมบูรณ์ศาสน์ขึ้น โดยหลัก 7 R ประกอบด้วย Reduce ลดใช้, Reuse ใช้ซ้ำ, Refill การเติม, Return การคืน, Repair/Repurpose การซ่อมแซม/การเปลี่ยนวัตถุประสงค์การใช้งาน, Replace การแทนที่ และ Recycle รีไซเคิล เพื่อลดปริมาณขยะของโรงเรียน เพิ่มจำนวนแกนนำการจัดการขยะ เพิ่มจำนวนมาตรการด้านการจัดการขยะและพัฒนานวัตกรรมการจัดการขยะในโรงเรียน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อลดปริมาณขยะของโรงเรียนต่อวัน จาก 100 กก./วัน
  2. เพื่อเพิ่มจำนวนแกนนำการจัดการขยะในโรงเรียนจาก 0 คน
  3. เพื่อเพิ่มจำนวนมาตรการด้านการจัดการขยะในโรงเรียนจาก 0 มาตรการ
  4. เพื่อเพิ่มจำนวนนวัตกรรมการจัดการขยะในโรงเรียนจาก 0 นวัตกรรม

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมเชิงปฏิบัติการจัดตั้งแกนนำพัฒนานวัตกรรมการจัดการขยะในโรงเรียน
  2. อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการจัดการขยะในโรงเรียนด้วยหลัก 7 R
  3. ประกวด 1 ห้องเรียน 1 นวัตกรรม ลดขยะ ลดโรคในโรงเรียน
  4. ประชุมผู้ที่เกี่ยวข้องเพื่อกำหนดมาตรการด้านการจัดการขยะในโรงเรียน
  5. ประชาสัมพันธ์มาตรการด้านการจัดการขยะในโรงเรียน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 100
กลุ่มวัยทำงาน 10
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.เกิดแกนนำการจัดการขยะในโรงเรียน
2.นักเรียนมีความรู้เกี่ยวกับการจัดการขยะด้วยหลัก 7 R
3.เกิดมาตรการด้านการจัดการขยะในโรงเรียน
4.เกิดนวัตกรรมการจัดการขยะในโรงเรียน
5.เกิดสื่อประชาสัมพันธ์มาตรการด้านการจัดการขยะในโรงเรียน


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการจัดการขยะในโรงเรียนด้วยหลัก 7 R

วันที่ 1 สิงหาคม 2566 เวลา 13:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

อบรมให้ความรู้นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษา โรงเรียนสมบูรณ์ศาสน์ จำนวน 100 คนเกี่ยวกับการจัดการขยะในโรงเรียนด้วยหลัก 7 R ประกอบด้วย
1. Reduce ลดใช้
2. Reuse ใช้ซ้ำ
3. Refill การเติม
4. Return การคืน
5. Repair/Repurpose การซ่อมแซม/การเปลี่ยนวัตถุประสงค์การใช้งาน
6. Replace การแทนที่
7. Recycle รีไซเคิล
โดยวิทยากร นางสิริยา แอนิ่ม รองผู้อำนวยการโรงเรียนสมบูรณ์ศาสน์

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษา โรงเรียนสมบูรณ์ศาสน์ จำนวน 100 คนมีความรู้เกี่ยวกับการจัดการขยะในโรงเรียนด้วยหลัก 7 R

 

0 0

2. อบรมเชิงปฏิบัติการจัดตั้งแกนนำพัฒนานวัตกรรมการจัดการขยะในโรงเรียน

วันที่ 2 สิงหาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

อบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาทักษะการพัฒนานวัตกรรมการจัดการขยะในโรงเรียนแก่นักเรียนระดับมัธยมศึกษา จำนวน 50 คน ระยะ เวลา 1 วัน โดยวิทยากร นางสาววานิตา ดนหวัง
มีกระบวนการที่สำคัญประกอบด้วย
1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับนวัตกรรมและการพัฒนานวัตกรรม
2. แนวทางในการพัฒนานวัตกรรมลดขยะในโรงเรียน
3. แบ่งกลุ่มเพื่อออกแบบนวัตกรรมการลดขยะในระดับชั้นเรียน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.เกิดแกนนำการจัดการขยะในโรงเรียน
2.เกิดนวัตกรรมการจัดการขยะในโรงเรียน

 

0 0

3. ประกวด 1 ห้องเรียน 1 นวัตกรรม ลดขยะ ลดโรคในโรงเรียน

วันที่ 22 พฤศจิกายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

จัดกิจกรรมการประกวด 1 ห้องเรียน 1 นวัตกรรม ลดขยะ ลดโรคในโรงเรียน
โดยกำหนดให้แต่ละห้องเรียนจัดทำผลงานนวัตกรรมเพื่อลดขยะในโรงเรียน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เกิดผลงานนวัตกรรมเพื่อลดขยะในโรงเรียน จำนวน 16 ชิ้น
1. GUCCI  บ้านนา
2. ถุงผ้าร้อยรัก
3. ชั้นวางของจากกระดาษลัง
4. ไม้กวาดจากขวดพลาสติก 5. MINI กระเบื้อง DIY 6. ขวดน้ำหรรษา 7. ธนาคารขยะ 8. มู่ลี่ มู่ลี่ จากกล่องนม 9. ผ้าขี้ริ้วห่อทอง 10. ของใช้อเนกประสงค์จากขวดพลาสติก 11. หลอดกลายร่าง 12. กระเป๋ารักษ์โลก 13. กระบอกน้ำรักษ์โลก 14.เก้าอี้จากขวดพลาสติก 15.ลังนมมหัศจรรย์ 16. SBS ซ่อมได้

 

0 0

4. ประชุมผู้ที่เกี่ยวข้องเพื่อกำหนดมาตรการด้านการจัดการขยะในโรงเรียน

วันที่ 14 ธันวาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมผู้ที่เกี่ยวข้องเพื่อกำหนดมาตรการด้านการจัดการขยะในโรงเรียน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เกิดมาตรการด้านการจัดการขยะในโรงเรียน 1. กำหนดนโยบายการจัดการขยะเป็นนโยบายหลักของโรงเรียน 2. จัดตั้งคณะทำงานด้านการจัดการขยะในโรงเรียน โดยมีองค์ประกอบของคณะทำงาน ประกอบด้วย ผู้บริหาร ครู ผู้ประกอบการร้านค้าและจำหน่ายอาหารในโรงเรียน และนักเรียน 3. บูรณาการการจัดประสบการณ์และการจัดการเรียนรู้ในระดับรายวิชากับการจัดการขยะในโรงเรียน 4. การปรับปรุงจุดตั้งถังขยะ  ตั้งถังรองรับเศษอาหารในจุดทิ้งเศษอาหาร 5. กำหนดจุดรับขยะรีไซเคิลที่ชัดเจน
6. ยกเลิกการใช้แก้วน้ำพลาสติกแบบครั้งเดียวทิ้ง
7. นักเรียนพกกระบอกน้ำหรือแก้วน้ำสำหรับเติมน้ำดื่ม เพื่อลดการใช้ขวดและแก้วพลาสติก 8. ล้างและจัดเก็บถุงหรือกล่องนมเพื่อนำไปใช้ซ้ำหรือใช้ประโยชน์อื่นๆ 9. รณรงค์การรับประทานอาหารให้หมดจาน 10. ตั้งจุดบริการน้ำดื่มสะอาด
11. ส่งเสริมการคัดแยกขยะ

 

0 0

5. ประชาสัมพันธ์มาตรการด้านการจัดการขยะในโรงเรียน

วันที่ 15 ธันวาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชาสัมพันธ์มาตรการด้านการจัดการขยะในโรงเรียน ผ่านช่องทางต่างๆ  ดังนี้
1. ป้ายไวนิลมาตรการด้านการจัดการขยะในโรงเรียน
2. กิจกรรมหน้าเสาธง 3. เสียงตามสายภายในโรงเรียน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เกิดช่องทางประชาสัมพันธ์มาตรการด้านการจัดการขยะในโรงเรียน ดังนี้
1. ป้ายไวนิลมาตรการด้านการจัดการขยะในโรงเรียน
2. กิจกรรมหน้าเสาธง 3. เสียงตามสายภายในโรงเรียน

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อลดปริมาณขยะของโรงเรียนต่อวัน จาก 100 กก./วัน
ตัวชี้วัด : ปริมาณขยะของโรงเรียนต่อวันลดลงเหลือ 50 กก./วัน
100.00 50.00

 

2 เพื่อเพิ่มจำนวนแกนนำการจัดการขยะในโรงเรียนจาก 0 คน
ตัวชี้วัด : จำนวนแกนนำการจัดการขยะในโรงเรียนเพิ่มขึ้นเป็น 50 คน
0.00 50.00

 

3 เพื่อเพิ่มจำนวนมาตรการด้านการจัดการขยะในโรงเรียนจาก 0 มาตรการ
ตัวชี้วัด : จำนวนมาตรการด้านการจัดการขยะในโรงเรียนเพิ่มขึ้นเป็น 5 มาตรการ
0.00 5.00

 

4 เพื่อเพิ่มจำนวนนวัตกรรมการจัดการขยะในโรงเรียนจาก 0 นวัตกรรม
ตัวชี้วัด : จำนวนนวัตกรรมการจัดการขยะในโรงเรียนเพิ่มขึ้นเป็น 16 นวัตกรรม
0.00 16.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 110
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 100
กลุ่มวัยทำงาน 10
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดปริมาณขยะของโรงเรียนต่อวัน จาก 100 กก./วัน (2) เพื่อเพิ่มจำนวนแกนนำการจัดการขยะในโรงเรียนจาก 0 คน (3) เพื่อเพิ่มจำนวนมาตรการด้านการจัดการขยะในโรงเรียนจาก 0 มาตรการ (4) เพื่อเพิ่มจำนวนนวัตกรรมการจัดการขยะในโรงเรียนจาก 0 นวัตกรรม

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมเชิงปฏิบัติการจัดตั้งแกนนำพัฒนานวัตกรรมการจัดการขยะในโรงเรียน (2) อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการจัดการขยะในโรงเรียนด้วยหลัก 7 R (3) ประกวด 1 ห้องเรียน 1 นวัตกรรม ลดขยะ ลดโรคในโรงเรียน (4) ประชุมผู้ที่เกี่ยวข้องเพื่อกำหนดมาตรการด้านการจัดการขยะในโรงเรียน (5) ประชาสัมพันธ์มาตรการด้านการจัดการขยะในโรงเรียน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการพัฒนานวัตกรรม ลดขยะ ลดโรค ด้วยหลัก 7 R โรงเรียนสมบูรณ์ศาสน์ จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 66-L7892-2-6

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายอะหมัด หลีขาหรี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด