กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลบางเหรียง


“ โครงการ สุขกายสุขใจวัยเรียน ”

ตำบลบางเหรียง อำเภอควนเนียง จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางจิยาลักษณ์ ศรีประสม

ชื่อโครงการ โครงการ สุขกายสุขใจวัยเรียน

ที่อยู่ ตำบลบางเหรียง อำเภอควนเนียง จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 61-L5171-2-02 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤศจิกายน 2560 ถึง 30 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการ สุขกายสุขใจวัยเรียน จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบางเหรียง อำเภอควนเนียง จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลบางเหรียง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการ สุขกายสุขใจวัยเรียน



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการ สุขกายสุขใจวัยเรียน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบางเหรียง อำเภอควนเนียง จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 61-L5171-2-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤศจิกายน 2560 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 55,350.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลบางเหรียง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สุขภาพเป็นปัจจัยสำคัญในการดำรงชีวิต ถ้าบุคคลมีสุขภาพกายสุขภาพใจที่ดี จะเป็นพื้นฐานสำคัญต่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต ในปัจจุบันการปฏิรูปการศึกษาได้ปฏิรูปไปสู่การส่งเสริมสุขภาพกายและสุขภาพจิตซึ่งเป็นสิ่งสำคัญและจำเป็นในโรงเรียน เพราะการที่นักเรียนมีสุขภาพดี สมบูรณ์ แข็งแรง ทั้งร่างกายและจิตใจนั้นย่อมส่งผลต่อการเรียนรู้ของนักเรียน และโรงเรียนได้ตระหนักและเห็นความสำคัญของการมีสุขภาพพลานามัยสมบูรณ์แข็งแรงทั้งร่างกายและจิตใจและปัญหาสุขภาพที่เกิดจากความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี ทำให้นักเรียนมีพฤติกรรมสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ไม่ดีนัก เช่น นั่งนิ่งๆ ดูทีวี เล่นเกม เล่นไลน์ เฟส ดูคลิปที่รุนแรงตลอดจนปัญหาสภาพแวดล้อมทั้งทางกายภาพและทางสังคม ซึ่งนับวันแนวโน้มของปัญหาสุขภาพกายและจิตใจมีความรุนแรงขึ้น โรงเรียนบ้านบางเหรียงเล็งเห็นปัญหาเหล่านี้ จึงได้จัดทำโครงการสุขกายสุขใจวัยเรียนขึ้น และเพื่อให้สอดคล้องกับนโยบายรัฐบาล คสช.ที่ให้ข้าราชการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพที่ดีและลดความเครียดจากการทำงาน เพื่อส่งผลดีต่อการเรียนรู้และการดำเนินชีวิตประจำวันอย่างมีความสุข อันจะนำไปสู่การพัฒนานักเรียนให้เป็นคนเก่ง คนดี มีสุขภาพพลานามัยแข็งแรง สมบูรณ์ ทั้งกาย ใจ ต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้การออกกำลังกายสามารถพัฒนาศักยภาพทางด้าน ร่างกาย จิตใจ สติปัญญา อารมณ์และสังคมของนักเรียน
  2. 2. เพื่อให้นักเรียนทุกคนมีความตระหนักและเห็นความสำคัญของการออกกำลังกาย
  3. 3. เพื่อส่งเสริม สนับสนุน สร้างจิต สำนึกและปลูกฝังให้นักเรียนรักการออกกำลังกาย
  4. 4.เพื่อให้ใช้กิจกรรมออกกำลังกายเป็นสื่อการสร้างความเข้มแข็งทั้งร่างกายและจิตใจให้แก่นักเรียน
  5. 5. เพื่อส่งเสริมการมีสุขภาพพลานามัยที่ดีจากการออกกำลังกาย
  6. 6. เพื่อสร้างความสามัคคีความเป็นน้ำหนึ่งใจเดียวกันระหว่างนักเรียน รู้แพ้ รู้ชนะ มีน้ำใจนักกีฬา

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 182
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. นักเรียนทุกคนมีสุขภาพพลานามัยที่ดีมีความสุข
    2. นักเรียนทุกคนมีความสามัคคี ความเป็นน้ำหนึ่งใจเดียวกัน
    3. นักเรียนได้ฝึกฝนทักษะการทำงานร่วมกัน การทำงานเป็นทีม
    4. การออกกำลังเป็นสื่อ การสร้างความเข้มแข็งของสุขภาพกาย สุขภาพจิตให้แก่นักเรียน
    5. นักเรียนทุกคนมีความตระหนักและเห็นความสำคัญของการออกกำลังกายรักการออกกำลังกาย
    6. นักเรียนมีพัฒนาศักยภาพทางด้านร่างกาย จิตใจ สติปัญญา อารมณ์และสังคมไปในทางที่ดี
    7. นักเรียนได้ใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1. เพื่อให้การออกกำลังกายสามารถพัฒนาศักยภาพทางด้าน ร่างกาย จิตใจ สติปัญญา อารมณ์และสังคมของนักเรียน
    ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 เด็กนักเรียนมีการออกกำลังกายสม่ำเสมอจนเป็นนิสัย

     

    2 2. เพื่อให้นักเรียนทุกคนมีความตระหนักและเห็นความสำคัญของการออกกำลังกาย
    ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 ของนักเรียนเห็นความสำคัญของการออกกำลังกาย

     

    3 3. เพื่อส่งเสริม สนับสนุน สร้างจิต สำนึกและปลูกฝังให้นักเรียนรักการออกกำลังกาย
    ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 เด็กนักเรียนรักในการออกกำลังกายและได้รับการส่งเสริมด้านกีฬาชนิดต่างๆ

     

    4 4.เพื่อให้ใช้กิจกรรมออกกำลังกายเป็นสื่อการสร้างความเข้มแข็งทั้งร่างกายและจิตใจให้แก่นักเรียน
    ตัวชี้วัด : เด็กนักเรียนร้อยละ 85 มีสุขภาพแข็งแรงสมบูรณ์ ร่าเริง

     

    5 5. เพื่อส่งเสริมการมีสุขภาพพลานามัยที่ดีจากการออกกำลังกาย
    ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 มีการออกกำลังกายด้วยอุปกรณ์ต่างๆ อย่างถูกวิธี ช่วยให้ร่างกายแข็งแรงสมบูรณ์ ปราศจากโรคต่างๆ

     

    6 6. เพื่อสร้างความสามัคคีความเป็นน้ำหนึ่งใจเดียวกันระหว่างนักเรียน รู้แพ้ รู้ชนะ มีน้ำใจนักกีฬา
    ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 รู้จักการเอื้อเฟื้อแบ่งปัน สามัคคีกันและมีน้ำใจนักกีฬา

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 182
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 182
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้การออกกำลังกายสามารถพัฒนาศักยภาพทางด้าน ร่างกาย จิตใจ สติปัญญา อารมณ์และสังคมของนักเรียน (2) 2. เพื่อให้นักเรียนทุกคนมีความตระหนักและเห็นความสำคัญของการออกกำลังกาย (3) 3. เพื่อส่งเสริม สนับสนุน สร้างจิต สำนึกและปลูกฝังให้นักเรียนรักการออกกำลังกาย (4) 4.เพื่อให้ใช้กิจกรรมออกกำลังกายเป็นสื่อการสร้างความเข้มแข็งทั้งร่างกายและจิตใจให้แก่นักเรียน (5) 5. เพื่อส่งเสริมการมีสุขภาพพลานามัยที่ดีจากการออกกำลังกาย (6) 6. เพื่อสร้างความสามัคคีความเป็นน้ำหนึ่งใจเดียวกันระหว่างนักเรียน รู้แพ้ รู้ชนะ มีน้ำใจนักกีฬา

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการ สุขกายสุขใจวัยเรียน จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ 61-L5171-2-02

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางจิยาลักษณ์ ศรีประสม )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด