กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ระแว้ง ”
ตำบลระแว้ง อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี



หัวหน้าโครงการ
สำนักเลขานุการกองทุนหลักประกันสุขภาพ




ชื่อโครงการ โครงการการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ระแว้ง

ที่อยู่ ตำบลระแว้ง อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 66-L3033 -04 -01 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 3 ตุลาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2566

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ระแว้ง จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลระแว้ง อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ระแว้ง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ระแว้ง



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ระแว้ง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลระแว้ง อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 66-L3033 -04 -01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 3 ตุลาคม 2565 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 60,488.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ระแว้ง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การบริหารจัดการและการพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ให้เกิดประโยชน์ต่อชุมชนมากที่สุด มีการบริหารจัดการกองทุนฯ ได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ร่วมจัดทำแผนสุขภาพตำบล กำหนดแนวทางการดำเนินงานโดยกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ซึ่งสามารถจัดการปัญหาด้านสุขภาพในระดับท้องถิ่นที่ได้นั้น คณะกรรมการกองทุน อนุกรรมการ รวมทั้งเครือข่าย และแกนนำชุมชนสามารถแลกเปลี่ยนความรู้ความเข้าใจ สามารถนำมาเสนอจัดทำโครงการเพื่อขอสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ และรู้บทบาทของคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ เพื่อให้สามารถศึกษาแนวทางแก้ไขปัญหาและร่วมกันวางแผนในการแก้ปัญหาของกลุ่มได้อย่างเป็นระบบ         ดังนั้นกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลระแว้งจึงได้จัดทำโครงการบริหารจัดการและพัฒนากองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลตันหยงลุโละขึ้น เพื่อให้การดำเนินงานและบริหารจัดการและพัฒนากองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลระแว้งและการจัดการระบบสุขภาพที่ได้รับการสนับสนุนดำเนินงานจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการกองทุน คณะอนุกรรมการ ให้มีความรู้ ความเข้าใจจุดมุ่งหมายกองทุน ประกาศ ระเบียบ และการทำโครงการด้านสุขภาพเพื่อสนับสนุนการดำเนินงานและการบริหารจัดการของกองทุนให้มีประสิทธิภาพ
  2. .เพื่อส่งเสริมให้มีการใช้เงินกองทุนให้แก่โครงการแก่ผู้รับทุน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดประชุมคณะกรรมการกองทุนฯ
  2. ประชุมคณะอนุกรรมการ
  3. ประชุมคณะกรรมการLTC
  4. การจัดทำแผนสุขภาพ/การพัฒนาการเขียนโครงการ
  5. .จัดซื้อวัสดุสำนักงาน
  6. ประชุมคณะกรรมการ ครั้งที่ 1
  7. ประชุมอนุกรรม ครั้งที่ 1
  8. ประชุมคณะกรรมการ ครั้งที่ 2
  9. ประชุมคณะอนุกรรมการ ครั้งที่ 2
  10. ประชุมคณะกรรมการLTC ครั้งที่ 1
  11. ประชุมคณะกรรมการLTC ครั้งที่ 2
  12. .จัดซื้อวัสดุ และครุภัณฑ์ อุปกรณ์ประกอบการดำเนินงานที่จำเป็นสำหรับปฏิบัติงานกองทุน
  13. การจัดทำแผนสุขภาพ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] 22

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. มีการดำเนินงานบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่นโดยองค์การบริหารส่วนตำบลตันหยงลุโละได้อย่างมีประสิทธิภาพ   2. คณะกรรมการบริหารกองทุน และคณะอนุกรรมการ มีความรู้ความเข้าใจจุดมุ่งหมายกองทุน ประกาศ ระเบียบ และการทำโครงการด้านสุขภาพ   3. การเสนอแผนงาน โครงการ กิจกรรมที่ผ่านการพิจารณาอนุมัติเป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุน   4. การรับเงิน การจ่ายเงิน การเก็บรักษาเงินและการจัดทำบัญชีเงินหรือทรัพย์สินในกองทุนเป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติกำหนด

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ประชุมคณะกรรมการ ครั้งที่ 1

วันที่ 5 กรกฎาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

รายงานการประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลระแว้ง
ครั้งที่ 1/2566 วันที่ 5 เดือน กรกฎาคม 2566 เวลา 09.๐๐ น. 1 นายมนตรี กาซอ ประธานคณะกรรมการ 2 ผู้อำนวยการสาธารณสุขอำเภอยะรัง ที่ปรึกษา 1 3 ท้องถิ่นอำเภอยะรัง ที่ปรึกษา 3 4 ผอ.โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลระแว้ง กรรมการ 5 นายอดุลย์ มะหะหมัด กรรมการ 6 นายอาหามะสะกือรี มะนาฮา กรรมการ 7 นายยา สาและ กรรมการ 8 นายอาแซ กาลอ กรรมการ 9 นางรอกาเยาะ นาวานิ กรรมการ 10 นางสาวซากีเราะ กาซอ กรรมการ 11 นายยาการียา ปูลา กรรมการ 12 นายมาหามะสะกือรี กาซอ กรรมการ 13 นายแวอูเซ็ง กาซอ กรรมการ 14 นายยาการียา กาซอ กรรมการ 15 นางสาวดารียะห์ กานา กรรมการ 16 นางศรีจันทร์ ดวงจา กรรมการ 17 นายอัมรอน มูซอ กรรมการและเลขานุการ 18 นายอัมมัรร์ ยีการ์เดร์ กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ 19 นางยามีละห์ เจ๊ะอาลี กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ ผู้เข้าประชุม 1 นางสาวยามีละห์ มะแส  ผู้ประสานงานกองทุนฯ 2 นางสาวสาอีดะ กามา ผู้ประสานงานกองทุนฯ เมื่อเวลา 09.๐๐ น. มติที่ประชุมลงความเห็นให้ นายมนตรี กาซอ เป็นประธานในที่ประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลระแว้งและได้กล่าวเปิดประชุมและดำเนินการประชุมตามระเบียบวาระโดยมีประเด็นสำคัญจากประชุมดังนี้

ระเบียบวาระที่ ๑   เรื่องที่ประธานแจ้งเพื่อทราบ 1.1 ข้อมูล ณ วันที่ 10 เมษายน ๒๕66 กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ระแว้ง มียอดเงินคงเหลือในบัญชีธนาคาร ธกส. สาขายะรัง เป็นเงิน 636,384.29 บาท (เงินหกแสนสามหมื่นหกพันสามร้อยแปดสิบสี่บาทยี่สิบเก้าสตางค์) มติที่ประชุม ทราบ ระเบียบวาระที่ ๒ เรื่องรับรองรายงานการประชุมครั้งที่แล้ว มติที่ประชุม..........................-ไม่มี-.................................................. ระเบียบวาระที่ ๓ เรื่องเสนอเพื่อทราบและพิจารณา
3.1 เรื่องเสนอเพื่อทราบ 3.1.1 รายงานการประชุมคณะกรรมการกองทุน องค์การบริหารส่วนตำบลระแว้ง ครั้งที่ 1/2566 พิจารณาอนุมัติโครงการตามประกาศใช้แผนสุขภาพกองทุนฯ จำนวน 7 โครงการ งบประมาณโครงการเป็นเงิน 411,980.-บาท มติที่ประชุม รับทราบผลการอนุมัติโครงการของคณะกรรมการกองทุนฯ องค์การบริหารส่วนตำบลระแว้ง ครั้งที่ 1/2566 มติที่ประชุม รับทราบ
ระเบียบวาระที่ ๓   เรื่องเสนอเพื่อทราบและพิจารณา
3.1 เรื่องเสนอเพื่อพิจารณา ๓.1.1 โครงการคัดกรองเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ประชาชนตำบลระแว้ง จำนวนงบประมาณที่ขอรับการสนับสนุนเป็นเงิน 30,000.-บาท ประเภทการสนับสนุน ที่ 1 มีในแผนงาน/โครงการ ปี 2566 ผู้รับผิดชอบ รพส.ต.ระแว้ง
3.1.2 โครงการแก้ไขปัญหาโรคไข้เลือดออกพื้นที่ตำบลระแว้ง ประจำปี 2566 เป็นเงิน 41,500.-บาท ประเภทการสนับสนุน ที่ 5 มีในแผนงาน/โครงการ ปี 2566 ผู้รับผิดชอบ สำนักปลัด องค์การบริหารส่วนตำบลระแว้ง 3.1.3 โครงการ อย.น้อยสุขภาพดี รู้ทันผลิตภัณฑ์สุขภาพ ในโรงเรียน กลุ่มเป้าหมาย นักเรียนชั้นป.4-ป.6 เป็นเงิน 30,000.-บาท ประเภทการสนับสนุน ที่ 1 มีในแผนงาน/โครงการ ปี 2566 ผู้รับผิดชอบ รพส.ต.ระแว้ง 3.1.4 โครงการป้องกันการตั้งครรภ์ในเด็กวัยเรียน และวัยรุ่นตำบลระแว้ง เป็นเงิน 20,000.-บาท ประเภทการสนับสนุน ที่ 1 มีในแผนงาน/โครงการ ปี 2566 ผู้รับผิดชอบรพส.ต.ระแว้ง

3.1.5 โครงการสร้างฟันสวย ยิ้มสดใส เพื่อเด็กระแว้งฟันดี เป็นเงิน 30,000.-บาท ประเภทการสนับสนุน ที่ 1 มีในแผนงาน/โครงการ ปี 2566 ผู้รับผิดชอบรพส.ต.ระแว้ง
3.1.6 โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพอบต.ระแว้ง ปี2566 เป็นเงิน 60,488.-บาท ประเภทการสนับสนุน ที่ 4 มีในแผนงาน/โครงการ ปี 2566 ผู้รับผิดชอบ สำนักปลัด องค์การบริหารส่วนตำบลระแว้ง 3.1.7 โครงการขยะปลอดโรค เป็นเงิน 200,000.-บาท ประเภทการสนับสนุน ที่ 1 มีในแผนงาน/โครงการ ปี 2566 ผู้รับผิดชอบ สำนักปลัด องค์การบริหารส่วนตำบลระแว้ง มติที่ประชุม อนุมัติงบประมาณ เป็นเงิน 411,988.-บาท ระเบียบวาระที่ ๔   เรื่องอื่นๆ
4.1 นายยา สาและ ตำแหน่ง กรรมการ 4.1.1 โครงการที่เสนอไปแล้วถ้าไม่หมดช่วงดำเนินการ สามารถขอโครงการใหม่ได้ในการของบประมาณกองทุนฯ
  - สามารถขอโครงการใหม่ได้ แต่ต้องมาชี้แจ้งให้ที่ประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ ให้ทราบว่าโครงการเดิมได้ดำเนินการ ไปถึงไหนแล้ว

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เพื่อส่งเสริมให้มีการใช้เงินกองทุนให้แก่โครงการแก่ผู้รับทุน

 

21 0

2. ประชุมอนุกรรม ครั้งที่ 1

วันที่ 7 กรกฎาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

รายงานการประชุมคณะอนุกรรมการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลระแว้ง
ครั้งที่ 1/2566 วันที่  7  เดือน  กรกฎาคม  2566
1 นางสาวฮาลีมะห์  ดามิ ประธานอนุกรรมการ 2 นางสาวอัสรีนา  กาเจ อนุกรรมการ 3 นางสาวซูไรนี  บาเหะ อนุกรรมการ 4 นางสาวกูฮัลซะห์  มูดอ อนุกรรมการ 5 นายอีสมะแอ  แวนาวานิ อนุกรรมการ 6 นางสาวกรรณทิวา  มุณีแนม อนุกรรมการ 7 นางสาวยามีละห์  มะแส อนุกรรมการและเลขานุการ เมื่อเวลา 09.00 น.  มติที่ประชุมลงความเห็นให้นางสาวฮาลีมะห์  ดามิ  เป็นประธานในที่ประชุมคณะอนุกรรมการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพ  องค์การบริหารส่วนตำบลระแว้ง  และได้กล่าวเปิดประชุมและดำเนินการประชุมตามระเบียบวาระโดยมีประเด็นสำคัญจากประชุมดังนี้ ระเบียบวาระที่  ๑     เรื่องที่ประธานแจ้งเพื่อทราบ


1.1  ข้อมูล ณ วันที่  10 เมษายน ๒๕66 กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ระแว้ง มียอดเงินคงเหลือในบัญชีธนาคาร ธกส. สาขายะรัง เป็นเงิน 636,384.29 บาท (เงินหกแสนสามหมื่นหกพันสามร้อยแปดสิบสี่บาทยี่สิบเก้าสตางค์) มติที่ประชุม  ทราบ


ระเบียบวาระที่  ๒   เรื่องรับรองรายงานการประชุมครั้งที่แล้ว
รายงานการประชุมของคณะอนุกรรมการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ 1/2566

มติที่ประชุม..........................-ไม่มีการแก้ไข-.................................................. ระเบียบวาระที่  ๓     เรื่องเสนอเพื่อทราบและพิจารณา


3.1  เรื่องเสนอเพื่อพิจารณา 3.1.1 . พิจารณาอนุมัติโครงการตามประกาศใช้แผนสุขภาพกองทุนฯ  จำนวน 7 โครงการ งบประมาณโครงการเป็นเงิน 411,980.-บาท มติที่ประชุม  รับทราบ

ระเบียบวาระที่  ๓     เรื่องเสนอเพื่อทราบและพิจารณา
3.1  เรื่องเสนอเพื่อพิจารณา ๓.1.1  โครงการคัดกรองเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ประชาชนตำบลระแว้ง จำนวนงบประมาณที่ขอรับการสนับสนุนเป็นเงิน  30,000.-บาท  ประเภทการสนับสนุน ที่ 1 มีในแผนงาน/โครงการ  ปี  2566  ผู้รับผิดชอบ  รพส.ต.ระแว้ง
3.1.2  โครงการแก้ไขปัญหาโรคไข้เลือดออกพื้นที่ตำบลระแว้ง ประจำปี 2566 เป็นเงิน 41,500.-บาท  ประเภทการสนับสนุน ที่ 5 มีในแผนงาน/โครงการ ปี  2566  ผู้รับผิดชอบ  สำนักปลัด องค์การบริหารส่วนตำบลระแว้ง 3.1.3 โครงการ อย.น้อยสุขภาพดี รู้ทันผลิตภัณฑ์สุขภาพ ในโรงเรียน กลุ่มเป้าหมาย นักเรียนชั้นป.4-ป.6  เป็นเงิน 30,000.-บาท  ประเภทการสนับสนุน ที่ 1 มีในแผนงาน/โครงการ ปี  2566  ผู้รับผิดชอบ รพส.ต.ระแว้ง 3.1.4 โครงการป้องกันการตั้งครรภ์ในเด็กวัยเรียน และวัยรุ่นตำบลระแว้ง เป็นเงิน 20,000.-บาท  ประเภทการสนับสนุน ที่ 1 มีในแผนงาน/โครงการ ปี  2566  ผู้รับผิดชอบรพส.ต.ระแว้ง

3.1.5 โครงการสร้างฟันสวย ยิ้มสดใส เพื่อเด็กระแว้งฟันดี เป็นเงิน 30,000.-บาท  ประเภทการสนับสนุน ที่ 1 มีในแผนงาน/โครงการ ปี  2566  ผู้รับผิดชอบรพส.ต.ระแว้ง
3.1.6 โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพอบต.ระแว้ง ปี2566 เป็นเงิน 60,488.-บาท  ประเภทการสนับสนุน ที่ 4 มีในแผนงาน/โครงการ ปี  2566  ผู้รับผิดชอบ  สำนักปลัด องค์การบริหารส่วนตำบลระแว้ง 3.1.7 โครงการขยะปลอดโรค เป็นเงิน 200,000.-บาท ประเภทการสนับสนุน ที่ 1 มีในแผนงาน/โครงการ ปี  2566  ผู้รับผิดชอบ  สำนักปลัด องค์การบริหารส่วนตำบลระแว้ง มติที่ประชุม  อนุมัติงบประมาณ  เป็นเงิน 411,988.-บาท

ระเบียบวาระที่  ๔         เรื่องอื่นๆ

4.1  ..........................-ไม่มี-..................................................

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการกองทุน คณะอนุกรรมการ ให้มีความรู้ ความเข้าใจจุดมุ่งหมายกองทุน ประกาศ ระเบียบ และการทำโครงการด้านสุขภาพเพื่อสนับสนุนการดำเนินงานและการบริหารจัดการของกองทุนให้มีประสิทธิภาพ

 

9 0

3. .จัดซื้อวัสดุ และครุภัณฑ์ อุปกรณ์ประกอบการดำเนินงานที่จำเป็นสำหรับปฏิบัติงานกองทุน

วันที่ 20 กรกฎาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

จัดซื้อวัสดุสำนักงาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เพื่อประกอบการดำเนินงานที่จำเป็นสำหรับปฏิบัติงานกองทุน

 

25 0

4. การจัดทำแผนสุขภาพ

วันที่ 28 กันยายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

 

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

 

 

25 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการกองทุน คณะอนุกรรมการ ให้มีความรู้ ความเข้าใจจุดมุ่งหมายกองทุน ประกาศ ระเบียบ และการทำโครงการด้านสุขภาพเพื่อสนับสนุนการดำเนินงานและการบริหารจัดการของกองทุนให้มีประสิทธิภาพ
ตัวชี้วัด : 1.มีจำนวนคณะกรรมการบริหารฯได้รับการพัฒนาศักยภาพฯ โครงการด้านสุขภาพ(คน)

 

2 .เพื่อส่งเสริมให้มีการใช้เงินกองทุนให้แก่โครงการแก่ผู้รับทุน
ตัวชี้วัด : 1.กองทุนสุขภาพตำบลสามารถบริหารสนับสนุนเงินแก่ผู้รับทุนไม่น้อยกว่า 90 % 2.กองทุนสุขภาพตำบลสามารถออกเงินสนับสนุนโครงการแก่ผู้รับทุน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 22
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] 22

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการกองทุน คณะอนุกรรมการ ให้มีความรู้ ความเข้าใจจุดมุ่งหมายกองทุน ประกาศ ระเบียบ และการทำโครงการด้านสุขภาพเพื่อสนับสนุนการดำเนินงานและการบริหารจัดการของกองทุนให้มีประสิทธิภาพ (2) .เพื่อส่งเสริมให้มีการใช้เงินกองทุนให้แก่โครงการแก่ผู้รับทุน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดประชุมคณะกรรมการกองทุนฯ (2) ประชุมคณะอนุกรรมการ (3) ประชุมคณะกรรมการLTC (4) การจัดทำแผนสุขภาพ/การพัฒนาการเขียนโครงการ (5) .จัดซื้อวัสดุสำนักงาน (6) ประชุมคณะกรรมการ  ครั้งที่  1 (7) ประชุมอนุกรรม  ครั้งที่  1 (8) ประชุมคณะกรรมการ  ครั้งที่  2 (9) ประชุมคณะอนุกรรมการ  ครั้งที่ 2 (10) ประชุมคณะกรรมการLTC  ครั้งที่  1 (11) ประชุมคณะกรรมการLTC  ครั้งที่  2 (12) .จัดซื้อวัสดุ และครุภัณฑ์ อุปกรณ์ประกอบการดำเนินงานที่จำเป็นสำหรับปฏิบัติงานกองทุน (13) การจัดทำแผนสุขภาพ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ระแว้ง จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 66-L3033 -04 -01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( สำนักเลขานุการกองทุนหลักประกันสุขภาพ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด