กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลนาหว้า


“ โครงการส่งเสริมทักษะในการแก้ไขปัญหาในสถานการณ์ฉุกเฉินสำหรับเด็กเล็ก ”



หัวหน้าโครงการ

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมทักษะในการแก้ไขปัญหาในสถานการณ์ฉุกเฉินสำหรับเด็กเล็ก

ที่อยู่ จังหวัด

รหัสโครงการ 66-L5182-03-7 เลขที่ข้อตกลง 8/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 สิงหาคม 2566 ถึง 29 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมทักษะในการแก้ไขปัญหาในสถานการณ์ฉุกเฉินสำหรับเด็กเล็ก จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลนาหว้า ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมทักษะในการแก้ไขปัญหาในสถานการณ์ฉุกเฉินสำหรับเด็กเล็ก



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมทักษะในการแก้ไขปัญหาในสถานการณ์ฉุกเฉินสำหรับเด็กเล็ก " ดำเนินการในพื้นที่ รหัสโครงการ 66-L5182-03-7 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 สิงหาคม 2566 - 29 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 28,035.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลนาหว้า เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ตามสถิติศูนย์ข้อมูลอุบัติเหตุทางถนนเพื่อเสริมสร้างวัฒนธรรมความปลอดภัยทางถนนมีจำนวนผู้เสียชีวิตและได้รับบาดเจ็บสะสมจากอุบัติเหตุทางถนน(ข้อมูล ณ วันที่ 28 สิงหาคม 2565) ผู้เสียชีวิตสะสม ปี 2565 จำนวน9,590 รายและบาดเจ็บสะสม ปี 2565 จำนวน594,658 รายนับได้ว่าประเทศไทยเป็นประเทศที่สถิติอุบัติเหตุทางถนนสูงสุดประเทศหนึ่งในโลกซึ่งสาเหตุของการเกิดอุบัติเหตุทางถนนมีอยู่หลายประการอาทิ 1. เมาสุรา 2. การขับรถเร็วเกินกว่าที่กฎหมายกำหนด 3. ตัดหน้ารถกระชั้นชิด4. ทัศนวิสัยไม่ดี 5. หลับใน6. แซงรถในที่คับขัน 7. ฝ่าฝืนสัญญาณไฟจราจร 8. โทรศัพท์ขณะขับขี่ 9. บรรทุกน้ำหนักเกิน 10. มีสิ่งกีดขวางที่ไม่คาดคิดบนถนน 11. ปัญหาผิวจราจร 12. ปัญหาจากสภาพรถไม่พร้อม สาเหตุการเสียชีวิตจากอุบัติเหตุบนท้องถนนในประเทศไทย 99% เกิดจากการไม่สวมหมวกนิรภัยโดยรายงานจากสมาคมส่งเสริมความปลอดภัยและอนามัยในการทำงาน(ประเทศไทย)ยังเผยว่า มีเด็กเพียง 7% เท่านั้นที่สวมหมวกนิรภัยระหว่างการเดินทางซึ่งอัตราการใช้หมวกนิรภัยจำนวนน้อยนี่เองสะท้อนให้เห็นถึงถึงความรู้เท่าไม่ถึงการณ์ ว่าภัยอันตรายรอบตัวนั้นสามารถเกิดขึ้นได้แบบไม่คาดฝันและเป็นเรื่องที่น่ากังวลที่พ่อแม่และผู้ปกครองหลายๆคนไม่ตระหนักถึงความสำคัญในการให้บุตรหลานสวมใส่หมวกนิรภัยขณะเดินทางด้วยรถจักรยานยนต์แล้วยังมีหลายครอบครัวถึงแม้จะสวมใส่หมวกนิรภัยให้เด็ก แต่ไม่รู้หลักการเลือกหมวกนิรภัยที่มีคุณภาพขนาดที่พอดีกับกับศีรษะเด็ก รวมถึงการสวมหมวกนิรภัยให้เด็กอย่างถูกวิธีอีกทั้งยังขาดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับวินัยจราจรและการขับขี่ที่ปลอดภัยถึงแม้หน่วยงานต่างๆทั้งภาครัฐและเอกชนที่เกี่ยวข้องที่จะสร้างความรู้ความเข้าใจให้ตระหนักถึงผลกระทบจากการเกิดอุบัติเหตุทางถนนและช่วยลดความเสี่ยงในการเกิดอุบัติเหตุการสำรวจจุดเสี่ยงหรือจุดที่เกิดอุบัติเหตุบ่อยให้ความรู้ในการการป้องกันอุบัติเหตุทางถนนการประชาสัมพันธ์รณรงค์ตามสื่อต่างๆ สุดท้ายแล้วผู้ขับขี่ต้องมีจิตสำนึกร่วมกันที่จะป้องกันไม่ให้เกิดอุบัติเหตุ ด้วยเหตุนี้การรณรงค์ส่งเสริมการสวมหมวกนิรภัยที่ได้มาตรฐานการเรียนรู้วิธีเอาตัวรอดเมื่อเด็กติดในรถรวมถึงการเรียนรู้วิธีการใช้ถนนอย่างถูกวิธีจึงเป็นจุดเริ่มต้นที่สำคัญในการป้องกันและสร้างความตระหนักถึงความปลอดภัยบนท้องถนนเพื่อลดการสูญเสียจากอุบัติเหตุและการเอาตัวรอดเมื่อเด็กติดในรถดังนั้นเพื่อกระตุ้นให้เด็กเกิดพฤติกรรมที่ถูกต้องในการใช้รถใช้ถนนการสร้างความรู้ความเข้าใจแก่เด็ก พ่อแม่ผู้ปกครอง ให้เห็นความสำคัญของการใช้หมวกนิรภัยการเอาตัวรอดเมื่อเด็กติดในรถ พร้อมอบรมวินัยจราจรจึงเป็นเรื่องจำเป็นอย่างยิ่งในการลดอุบัติเหตุและจำนวนตัวเลขผู้บาดเจ็บและเสียชีวิตในเด็กศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านเกาะทากจึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมทักษะในการแก้ไขปัญหาในสถานการณ์ฉุกเฉินสำหรับเด็กเล็กขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้นักเรียนได้รับหมวกนิรภัยสวมใส่และเดินทางไปกลับศูนย์พัฒนาเด็กเล็กอย่างปลอดภัย และผู้ปกครองที่มีส่วนเกี่ยวข้องเล็งเห็นความสำคัญ
  2. เพื่อให้มีการป้องกัน ลดอุบัติเหตุ และการเกิดการบาดเจ็บจากการใช้รถ ใช้ถนน
  3. เพื่อให้ผู้ปกครองและนักเรียนมีความรู้ความเข้าใจในการคิดและรู้จักป้องกัน แก้ไขปัญหาเบื้องต้น ระหว่างรอการช่วยเหลือ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมคณะกรรมการ ศพด.บ้านเกาะทาก เพื่อวางแผนการดำเนินงาน
  2. กำหนดนโยบายการสวมหมวกนิรภัยทุกครั้งที่มาศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านเกาะทาก
  3. ติดตามและประเมินผลโครงการ
  4. อบรมเชิงปฏิบัติการอุบัติเหตุการสวมหมวกนิรภัยและวิธีการเอาตัวรอดของเด็กเมื่อติดในรถ
  5. การรณรงค์การขับขี่ปลอดภัย ใส่ใจกฎจราจร และสวมหมวกนิรภัยทุกครั้งเมื่อขับขี่รถจักยานยนต์
  6. การสวมหมวกนิรภัยทุกครั้ง เมื่อขับขี่รถจักรยานยนต์ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านเกาะทาก

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 52
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 38
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. นักเรียน ครู และผู้ปกครองเกิดองค์ความรู้เกี่ยวการใช้รถ ใช้ถนนกับกฎหมายจราจร
  2. นักเรียน ครู และผู้ปกครองมีความตระหนักถึงความปลอดภัยในการใช้รถ ใช้ถนนและเห็นความสำคัญของการใส่หมวกนิรภัยให้กับเด็กนักเรียน
  3. สร้างวัฒนธรรมความปลอดภัยในการสวมหมวกนิรภัยการใช้รถและวินัยจราจร ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
  4. ลดปัญหาการเกิดอุบัติเหตุโดยเริ่มต้นจากชุมชน

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ประชุมคณะกรรมการ ศพด.บ้านเกาะทาก เพื่อวางแผนการดำเนินงาน

วันที่ 6 กันยายน 2566 เวลา 13:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

จัดประชุมคณะกรรมการ พร้อมด้วยเจ้าหน้าที่และบุคลากรของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านเกาะทาก เพื่อเตรียมความพร้อมในการดำเนินโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เจ้าหน้าที่และบุคลากรของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านเกาะทาก เตรียมความพร้อมในการดำเนินโครงการ

 

0 0

2. อบรมเชิงปฏิบัติการอุบัติเหตุการสวมหมวกนิรภัยและวิธีการเอาตัวรอดของเด็กเมื่อติดในรถ

วันที่ 7 กันยายน 2566 เวลา 08:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

อบรมเชิงปฏิบัติการอุบัติเหตุการสวมหมวกนิรภัยและวิธีการเอาตัวรอดของเด็กเมื่อติดในรถ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. นักเรียน ครู และผู้ปกครองเกิดองค์ความรู้เกี่ยวการใช้รถ ใช้ถนนกับกฎหมายจราจร
  2. นักเรียน ครู และผู้ปกครองมีความตระหนักถึงความปลอดภัยในการใช้รถ ใช้ถนนและเห็นความสำคัญของการใส่หมวกนิรภัยให้กับเด็กนักเรียน
  3. สร้างวัฒนธรรมความปลอดภัยในการสวมหมวกนิรภัยการใช้รถและวินัยจราจร ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
  4. ลดปัญหาการเกิดอุบัติเหตุโดยเริ่มต้นจากชุมชน

 

0 0

3. กำหนดนโยบายการสวมหมวกนิรภัยทุกครั้งที่มาศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านเกาะทาก

วันที่ 7 กันยายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

กำหนดนโยบายการสวมหมวกนิรภัยทุกครั้งที่มาศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านเกาะทาก

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีกำหนดนโยบายการสวมหมวกนิรภัยทุกครั้งที่มาศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านเกาะทาก

 

0 0

4. การรณรงค์การขับขี่ปลอดภัย ใส่ใจกฎจราจร และสวมหมวกนิรภัยทุกครั้งเมื่อขับขี่รถจักยานยนต์

วันที่ 8 กันยายน 2566 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

การรณรงค์การขับขี่ปลอดภัย ใส่ใจกฎจราจร และสวมหมวกนิรภัยทุกครั้งเมื่อขับขี่รถจักยานยนต์

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

รณรงค์การขับขี่ปลอดภัย ใส่ใจกฎจราจร และสวมหมวกนิรภัยทุกครั้งเมื่อขับขี่รถจักยานยนต์

 

0 0

5. การสวมหมวกนิรภัยทุกครั้ง เมื่อขับขี่รถจักรยานยนต์ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านเกาะทาก

วันที่ 8 กันยายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ทำบันทึกข้อตกลงร่วมกับผู้ปกครองเด็ก ดังนี้ -ทำสัญญายืมหมวกนิรภัยสำหรับเด็กไปใช้และส่งคืนเมื่อปิดภาคเรียน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีบันทึกข้อตกลงร่วมกับผู้ปกครองเด็ก

 

0 0

6. ติดตามและประเมินผลโครงการ

วันที่ 29 กันยายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ติดตามและประเมินผลโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลติดตามและประเมินผลโครงการ

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้นักเรียนได้รับหมวกนิรภัยสวมใส่และเดินทางไปกลับศูนย์พัฒนาเด็กเล็กอย่างปลอดภัย และผู้ปกครองที่มีส่วนเกี่ยวข้องเล็งเห็นความสำคัญ
ตัวชี้วัด : เพิ่มร้อยละของนักเรียนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านเกาะทากได้หมวกนิรภัย
90.00 100.00

 

2 เพื่อให้มีการป้องกัน ลดอุบัติเหตุ และการเกิดการบาดเจ็บจากการใช้รถ ใช้ถนน
ตัวชี้วัด : ลดร้อยละของนักเรียนและผู้ปกครอง เกิดอุบัติเหตุทางรถจักรยานยนต์
60.00 20.00

 

3 เพื่อให้ผู้ปกครองและนักเรียนมีความรู้ความเข้าใจในการคิดและรู้จักป้องกัน แก้ไขปัญหาเบื้องต้น ระหว่างรอการช่วยเหลือ
ตัวชี้วัด : เพิ่มร้อยละของเด็กนักเรียนและผู้ปกครองที่ยังขาดทักษะในการคิดและรู้จักแก้ปัญหาได้ด้วยตนเองระหว่างรอการช่วยเหลือ
60.00 85.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 90
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 52
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 0
กลุ่มวัยทำงาน 38
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้นักเรียนได้รับหมวกนิรภัยสวมใส่และเดินทางไปกลับศูนย์พัฒนาเด็กเล็กอย่างปลอดภัย  และผู้ปกครองที่มีส่วนเกี่ยวข้องเล็งเห็นความสำคัญ (2) เพื่อให้มีการป้องกัน  ลดอุบัติเหตุ และการเกิดการบาดเจ็บจากการใช้รถ ใช้ถนน (3) เพื่อให้ผู้ปกครองและนักเรียนมีความรู้ความเข้าใจในการคิดและรู้จักป้องกัน  แก้ไขปัญหาเบื้องต้น  ระหว่างรอการช่วยเหลือ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมคณะกรรมการ ศพด.บ้านเกาะทาก เพื่อวางแผนการดำเนินงาน (2) กำหนดนโยบายการสวมหมวกนิรภัยทุกครั้งที่มาศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านเกาะทาก (3) ติดตามและประเมินผลโครงการ (4) อบรมเชิงปฏิบัติการอุบัติเหตุการสวมหมวกนิรภัยและวิธีการเอาตัวรอดของเด็กเมื่อติดในรถ (5) การรณรงค์การขับขี่ปลอดภัย ใส่ใจกฎจราจร และสวมหมวกนิรภัยทุกครั้งเมื่อขับขี่รถจักยานยนต์ (6) การสวมหมวกนิรภัยทุกครั้ง เมื่อขับขี่รถจักรยานยนต์ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านเกาะทาก

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมทักษะในการแก้ไขปัญหาในสถานการณ์ฉุกเฉินสำหรับเด็กเล็ก จังหวัด

รหัสโครงการ 66-L5182-03-7

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด