กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเตงนอก


“ โครงการส่งเสริมป้องกันโรคมือเท้าปาก ปี 2566 ”



หัวหน้าโครงการ
นางสปีเนาะ กะโด

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมป้องกันโรคมือเท้าปาก ปี 2566

ที่อยู่ จังหวัด

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง 45/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2566 ถึง 31 สิงหาคม 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมป้องกันโรคมือเท้าปาก ปี 2566 จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเตงนอก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมป้องกันโรคมือเท้าปาก ปี 2566



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมป้องกันโรคมือเท้าปาก ปี 2566 " ดำเนินการในพื้นที่ รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2566 - 31 สิงหาคม 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 25,800.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเตงนอก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคมือเท้าปากซึ่งเป็นโรคที่พบบ่อยในเด็กผู้ป่วยส่วนใหญ่เป็นเด็กที่มีอายุน้อยกว่า 5 ปี มักระบาดในช่วงหน้าฝนโรคที่เกิดจากโรคไวรัสกลุ่ม“แอนเตอโรไวรัส”การที่เป็นโรคมือเท้าปากอันเกิดจากการรับประทานอาหารโดยขาดความสะอาดเช่นไม่ได้ล้างมือก่อนรับประทานอาหารการดื่มน้ำหรือเด็กที่ดูดเลียนิ้วมือซึ่งโรคนี้จะมีอาการโดยทั่วไปแล้วมักจะมีอาการเจ็บคอจะมีตุ่มฟองใสจะมีขนาดปริมาณ 1 – 2 มิลลิลิตรบนฐานซึ่งจะแสดงด้วยสีแดงซึ่งกระจายอยู่ในบริเวณคอหอยและจะมีตุ่มฟองใสจะขยายกลายเป็นแผลร้อนในโดยส่วนมากจะพบบ่อยที่บริเวณด้านหน้าของต่อมทอมซิลและมักจะเป็นอยู่โดยจะใช้เวลา 4 – 5 วัน โดยมีวิธีการป้องกันที่ดีที่สุดคือการล้างมือให้ถูกวิธีโดยใช้สบู่และล้างด้วยน้ำที่สะอาดหลาย ๆ ครั้งโดยเฉพาะเมื่อได้สัมผัสกับเด็กที่ป่วยต้องปฏิบัติให้ถูกวิธีให้ล้างมือด้วยสบู่ทุกครั้งที่ออกจากห้องน้ำหลังทำกิจกรรมใช้ช้อนกลางทุกครั้งที่ตักอาหารรับประทานอาหารร่วมกันและหลีกเลี่ยงการใช้แก้วน้ำดื่มหรือใช้หลอดดูดดื่มร่วมกันหลีกเลี่ยงการสัมผัสกับผู้ป่วยโดยสวมถุงมือเมื่อจะลงมือทำแผลของผู้ป่วยที่เป็นโรคมือเท้าปาก โรคมือเท้าปากเปื่อยโรคมือเท้าปากเปื่อยเป็นโรคที่เกิดจากการติดเชื้อไวรัส พบได้บ่อยในทารกและเด็กเล็ก ทำให้มีอาการไข้ เป็นแผลในปาก มีตุ่มน้ำใสตามฝ่ามือ ฝ่าเท้า และลำตัว จัดเป็นโรคที่สร้างความกังวลใจให้กับคุณพ่อคุณแม่อยู่ไม่น้อย ซึ่งการติดต่อของโรคมือเท้าปากเปื่อยโรคมือเท้าปากเปื่อยสามารถติดต่อโดยตรงจากการสัมผัสกับสารคัดหลั่งจากจมูก ลำคอ น้ำลาย และน้ำจากตุ่มใส รวมถึงอุจจาระของผู้ป่วยที่มีเชื้ออยู่ และสามารถติดต่อโดยอ้อมจากการสัมผัสของเล่น พื้นผิวสัมผัสที่มีการปนเปื้อนของเชื้อ อาหารหรือน้ำดื่มที่ปนเปื้อนเชื้อ มือของผู้เลี้ยงดู โดยสถานที่ที่มักพบการระบาดของโรค ได้แก่ สถานรับเลี้ยงเด็กและโรงเรียนอนุบาล และช่วงที่มักมีการระบาดของโรคนี้คือ ช่วงฤดูฝนเข้าสู่ฤดูหนาว อย่างไรก็ดี โรคนี้ไม่ติดต่อจากคนสู่สัตว์หรือสัตว์สู่คน ทั้งนี้ โรคนี้สามารถเป็นซ้ำได้อีก เนื่องจากภูมิคุ้มกันที่เกิดขึ้นในผู้ป่วยที่หายจากการติดเชื้อไวรัสสายพันธุ์หนึ่ง ๆ อาจไม่สามารถช่วยป้องกันการติดเชื้อจากไวรัสสายพันธุ์อื่น ๆ ได้ แม้จะจัดอยู่ในกลุ่มย่อยของเชื้อไวรัสเดียวกันอาการและภาวะแทรกซ้อนของโรคมือเท้าปากเปื่อย อาการเริ่มต้นของโรคมือเท้าปากเปื่อยจะคล้ายไข้หวัดคือมีไข้ประมาณ 2 – 4 วันและปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ จากนั้นจะมีผื่นแดงอักเสบที่ลิ้น เหงือก และกระพุ้งแก้ม ต่อมาเกิดผื่นแดงที่ฝ่ามือและฝ่าเท้า ในบางรายอาจพบที่ก้นด้วย โดยผื่นที่เกิดขึ้นเหล่านี้จะกลายเป็นตุ่มพองใส และแตกออกเป็นแผลหลุมตื้นๆ โดยส่วนใหญ่หากไม่มีอาการแทรกซ้อนอื่นอาการมักหายได้เองภายใน 7 - 10 วัน อย่างไรก็ตาม โรคมือเท้าปากเปื่อยอาจทำให้เกิดภาวะแทรกซ้อนที่รุนแรง เช่น เยื่อหุ้มสมองอักเสบ สมองอักเสบ อัมพาตกล้ามเนื้ออ่อนปวกเปียก หรือกล้ามเนื้อหัวใจอักเสบ ไปจนถึงเสียชีวิตได้ โดยอาการแทรกซ้อนไม่สัมพันธ์กับจำนวนแผลในปากหรือตุ่มที่พบตามฝ่ามือฝ่าเท้า ในรายที่มีอาการแทรกซ้อนรุนแรงอาจมีแผลไม่กี่จุดในลำคอหรืออาจมีตุ่มเพียงไม่กี่ตุ่มตามฝ่ามือฝ่าเท้าก็ได้ซึ่งคุณพ่อคุณแม่ควรดูแลลูกอย่างใกล้ชิดในช่วง 1 - 2 สัปดาห์แรกแม้จะดูว่าผื่น และแผลในปากหายไปแล้วก็ตามในปัจจุบันมีเด็กอายุต่ำกว่า5ปีเป็นเด็กก่อนวัยเรียนต้องถูกฝากเลี้ยงไว้ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและโรงเรียนอนุบาลซึ่งเป็นสถานที่ที่เด็กมาอยู่รวมกันเป็นจำนวนมากเมื่อมีเด็กคนใดคนหนึ่งเจ็บป่วยจะสามารถแพร่เชื้อโรคติดต่อสู่กันได้ง่ายในเด็กเล็กที่มีภูมิต้านทานต่ำจะป่วยได้บ่อย โรคที่พบบ่อยได้แก่โรคมือเท้าปากและโรคติดต่อต่าง ๆ ส่งผลกระทบต่อพัฒนาการและสุขภาพโดยรวมของเด็กการระบาดของโรคมือเท้าปากและโรคติดต่อต่าง ๆ เมื่อเกิดขึ้นต้องปิดศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลผู้ปกครองต้องหยุดงานเพื่อดูแลเด็กที่บ้านทำให้ขาดรายได้จึงจำเป็นต้องให้ความสำคัญกับการดำเนินงานด้านการเฝ้าระวังการป้องกันและควบคุมโรคในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กให้มีประสิทธิภาพซึ่งนอกจากจะช่วยลดการเกิดโรคติดเชื้อเฉียบพลันโรคมือเท้าปากในเด็กแล้วยังเป็นการเตรียมความพร้อมรับมือกับการระบาดของโรคติดเชื้อซึ่งอาจจะเกิดขึ้นได้ในอนาคต โรคมือเท้าปาก พร้อมทั้งให้ผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคมือเท้าปากที่ถูกต้องต่อไป สถานการณ์โรคมือ เท้า ปากตั้งแต่ 1 ม.ค. – 31 ธ.ค. 65 มีรายงานผู้ป่วยทั้งหมด 22 ราย      ไม่มีผู้เสียชีวิต ในปีนี้พบผู้ป่วยสูงสุดในเดือนสิงหาคม จำนวน 15 ราย สูงกว่าค่ามัธยฐานในช่วงห้าปีที่ผ่านมา ตั้งแต่เดือนมิถุนายนถึงเดือนพฤศจิกายน ผู้ป่วยเป็นเพศชาย 12 ราย เพศหญิง 10 ราย กลุ่มอายุที่มีอัตราป่วยสูงสุด คือ กลุ่มเด็กแรกเกิด - 4 ปี ซึ่งพื้นในเขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสะเตงนอก  มีปัญหาการระบาดของโรคมือเท้าปากมาอย่างต่อเนื่องเช่นกัน จากข้อมูลดังกล่าวพบว่าอัตราป่วยมีแนวโน้มสูงขึ้น จึงสันนิฐานได้ว่าการแพร่เชื้อ และการกระจายโรค จะเกิดขึ้นได้ทั้ง ชุมชน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก และโรงเรียน ด้วยเหตุนี้การควบคุมโรคจะต้องอาศัยความร่วมมือทั้งจาก ชุมชน โรงเรียน องค์การปกครองส่วนท้องถิ่น และหน่วยงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสะเตงนอก ตำบลสะเตงนอก อำเภอเมือง จังหวัดยะลา      ได้ตระหนักในบทบาทหน้าที่ในการเฝ้าระวัง ควบคุม และป้องกันโรคมือ เท้า ปาก เพื่อที่จะพัฒนาคุณภาพชีวิตแก่ประชาชนและเป็นการลดภาระค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาล จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมป้องกันโรคมือเท้าปาก ปี 2566 ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้ผู้ปกครอง และผู้นำชุมชนมีความรู้เกี่ยวกับการป้องกันโรคมือเท้าปาก
  2. 2. เพื่อให้ผู้ปกครอง และผู้นำชุมชนมีความรู้เกี่ยวกับโรคมือเท้าปากการล้างมือที่ถูกวิธี
  3. 3. เพื่อเป็นการสนับสนุนกิจกรรมการสร้างเสริมสุขภาพที่ดีให้กับผู้ปกครอง และชุมชน
  4. 4.เพื่อสร้างจิตสำนึกและความตระหนักให้ประชาชนมีความใส่ใจต่อสุขภาพ และสิ่งแวดล้อม

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1. กิจกรรมในกลุ่มผู้ปกครองเด็กก่อนวัยเรียน (ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก)
  2. 2. กิจกรรมในกลุ่มแกนนำชุมชน (ผู้นำชุมชน อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน)

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจขั้นตอนสาเหตุ การป้องกัน และการรักษาโรคมือเท้าปาก
2.ผู้ปกครองสามารถช่วยให้คำแนะนำและวิธีป้อนกันโรคมือเท้าปาก
3.ป้องกัน และลดอัตราการเกิดโรคที่มีปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อม


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. 1. กิจกรรมในกลุ่มผู้ปกครองเด็กก่อนวัยเรียน (ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก)

วันที่ 24 กรกฎาคม 2566 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. ขั้นเตรียมการ 1.1 เขียนโครงการฯ เสนอขออนุมัติ 1.2 ประชาสัมพันธ์โครงการแก่กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมโครงการ 1.3 จัดทำแผนออกรณรงค์ในชุมชน
  2. ขั้นดำเนินการ 2.1 จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับโรคมือเท้าปากพร้อมสาธิตการล้างมือให้ถูกวิธีแก่แกนนำนักเรียน 2.2 จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับโรคมือเท้าปากพร้อมสาธิตการล้างมือให้ถูกวิธีแก่แกนนำครอบครัว 2.3 สาธิตวิธีการควบคุมการระบาดของโรคมือเท้าปากภายในโรงเรียน และในชุมชน 2.4 วิเคราะห์ สรุปผลการดำเนินงาน 2.5 ประเมินผลโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้และเข้าใจขั้นตอนการป้องกันโรคมือเท้าปาก
2.ครูและผู้ปกครองสามารถช่วยให้คำแนะนำและวิธีป้อนกันโรคมือเท้าปาก

 

0 0

2. 2. กิจกรรมในกลุ่มแกนนำชุมชน (ผู้นำชุมชน อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน)

วันที่ 28 กรกฎาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. ขั้นเตรียมการ 1.1 เขียนโครงการฯ เสนอขออนุมัติ 1.2 ประชาสัมพันธ์โครงการแก่กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมโครงการ 1.3 จัดทำแผนออกรณรงค์ในชุมชน
  2. ขั้นดำเนินการ 2.1 จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับโรคมือเท้าปากพร้อมสาธิตการล้างมือให้ถูกวิธีแก่แกนนำนักเรียน 2.2 จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับโรคมือเท้าปากพร้อมสาธิตการล้างมือให้ถูกวิธีแก่แกนนำครอบครัว 2.3 สาธิตวิธีการควบคุมการระบาดของโรคมือเท้าปากภายในโรงเรียน และในชุมชน 2.4 วิเคราะห์ สรุปผลการดำเนินงาน 2.5 ประเมินผลโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้และเข้าใจขั้นตอนการป้องกันโรคมือเท้าปาก

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อให้ผู้ปกครอง และผู้นำชุมชนมีความรู้เกี่ยวกับการป้องกันโรคมือเท้าปาก
ตัวชี้วัด :
0.00

 

2 2. เพื่อให้ผู้ปกครอง และผู้นำชุมชนมีความรู้เกี่ยวกับโรคมือเท้าปากการล้างมือที่ถูกวิธี
ตัวชี้วัด :
0.00

 

3 3. เพื่อเป็นการสนับสนุนกิจกรรมการสร้างเสริมสุขภาพที่ดีให้กับผู้ปกครอง และชุมชน
ตัวชี้วัด :
0.00

 

4 4.เพื่อสร้างจิตสำนึกและความตระหนักให้ประชาชนมีความใส่ใจต่อสุขภาพ และสิ่งแวดล้อม
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้ผู้ปกครอง และผู้นำชุมชนมีความรู้เกี่ยวกับการป้องกันโรคมือเท้าปาก (2) 2. เพื่อให้ผู้ปกครอง และผู้นำชุมชนมีความรู้เกี่ยวกับโรคมือเท้าปากการล้างมือที่ถูกวิธี (3) 3. เพื่อเป็นการสนับสนุนกิจกรรมการสร้างเสริมสุขภาพที่ดีให้กับผู้ปกครอง และชุมชน (4) 4.เพื่อสร้างจิตสำนึกและความตระหนักให้ประชาชนมีความใส่ใจต่อสุขภาพ และสิ่งแวดล้อม

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. กิจกรรมในกลุ่มผู้ปกครองเด็กก่อนวัยเรียน (ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก) (2) 2. กิจกรรมในกลุ่มแกนนำชุมชน (ผู้นำชุมชน อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน)

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมป้องกันโรคมือเท้าปาก ปี 2566 จังหวัด

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสปีเนาะ กะโด )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด