กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เกาะลิบง


“ โครงการป้องกันการเกิดโรคไข้เลือดออก ”

ตำบลเกาะลิบง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นางหนึ่งหทัย สกุลส่องบุญศิริ

ชื่อโครงการ โครงการป้องกันการเกิดโรคไข้เลือดออก

ที่อยู่ ตำบลเกาะลิบง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 สิงหาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการป้องกันการเกิดโรคไข้เลือดออก จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเกาะลิบง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เกาะลิบง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกันการเกิดโรคไข้เลือดออก



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการป้องกันการเกิดโรคไข้เลือดออก " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเกาะลิบง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 15 สิงหาคม 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 24,500.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เกาะลิบง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัญหาโรคไข้เลือดออก นับเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญในระดับประเทศ เพราะพบผู้ป่วยในทุกพื้นที่เป็นประจำทุกปี จนอาจกล่าวได้ว่าเป็นโรคประจำท้องถิ่น ประกอบกับในปี ๒๕๖๐ สภาพภูมิอากาศในพื้นที่อำเภอกันตัง ปริมาณน้ำฝนตกต่อเนื่องตลอดทั้งปี ยิ่งสนับสนุนให้โอกาสการเกิดโรคที่นำโดยยุงเป็นพาหะนำโรคมีโอกาสเพิ่มมากขึ้นกว่าทุกปี ทั้งโรคไข้เลือดออก โรคไข้ปวดข้อยุงลาย โรคซิก้า ทั้ง ๓ โรคสามารถแพร่ระบาดได้โดยมียุงลายเป็นสัตว์นำโรค สถานการณ์โรคไข้เลือดออกของรพ.สต.บ้านมดตะนอย พบผู้ป่วยๆด้วยโรคไข้เลือดออกจำนวน ๒ ราย คิดเป็น ๑๐๙.๐๕ ต่อแสนประชากร จากสถานการณ์การเกิดโรคดังกล่าว จึงเป็นพื้นที่หนึ่งที่มีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคไข้เลือดออกของแสดงให้เห็นพื้นที่ในเขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านมดตะนอยน่าจะปัจจัยที่สนับสนุนให้เกิดโรคไข้เลือดออก จากการประเมินผลการดำเนินงานในภาพรวม พบว่า ประชาชนมีการรับรู้การเกิดโรคในพื้นที่ แต่ความร่วมมือในการทำกิจกรรมกำจัดลูกน้ำยุงลายของประชาชน ซึ่งเป็นหัวใจหลักของการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกยังไม่จริงจังและขาดความต่อเนื่อง ดังนั้น รพ.สต.บ้านมดตะนอย จึงได้จัดทำโครงการป้องกันการเกิดโรคไข้เลือดออก เพื่อให้มีการสนับสนุนการมีส่วนร่วมของชุมชนต่อการป้องกันภัยไข้เลือดออก โดยใช้กลวิธีพึ่งตนเองของชุมชนภายใต้หลักการทางศาสนา หลักเศรษฐกิจพอเพียง พร้อมทั้งสนับสนุนให้ชุมชนร่วมกำหนดรูปแบบการป้องกันควบคุมโรค การเสริมแรงของคนในชุมชน ส่งเสริมขวัญกำลังใจของผู้นำชุมชนอสม. และประชาชน ซึ่งเป็นผู้นำในการดำเนินการป้องกันโรคไข้เลือดออกในหมู่บ้าน และให้ทุกภาคส่วนตระหนักถึงความสำคัญของปัญหา และร่วมกันดำเนินงานอย่างจริงและต่อเนื่อง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อสนับสนุนการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน
  2. 2. เพื่อให้ชุมชนร่วมทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายป้องกันโรคไข้เลือดออก
  3. 3. เพื่อให้ชุมชนมีระบบการควบคุมโรคไข้เลือดออกของชุมชนเมื่อมีการระบาดของโรคไข้เลือดออก

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    ประชาชนเรียนรู้การป้องกันโรคไข้เลือดออกทั้งทางด้านปัจจัยการควบคุมโรคทางกายภาพ ชีวภาพ และการใช้สารเคมีควบคุมโรคอย่างเหมาะสม ส่งผลให้สามารถป้องกันการเกิดโรคไข้เลือดออกได้


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    1.ครัวเรือนสมัครเข้าร่วมโครงการปลูกดอกดาวเรือง 523 ครัวเรือน 2.สนับสนุนให้พื้นที่สาธารณะปลูกดอกดาวเรือง ประกอบด้วย โรงเรียน อบต. ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก มัสยิด รพ.สต. 3.มีวัสดุป้องกันการเกิดโรคไข้เลือดออกในชุมชน เช่น สเปรย์กำจัดยุงตัวเต็มวัย โลชั่นทากันยุง

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1. เพื่อสนับสนุนการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน
    ตัวชี้วัด :

     

    2 2. เพื่อให้ชุมชนร่วมทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายป้องกันโรคไข้เลือดออก
    ตัวชี้วัด :

     

    3 3. เพื่อให้ชุมชนมีระบบการควบคุมโรคไข้เลือดออกของชุมชนเมื่อมีการระบาดของโรคไข้เลือดออก
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อสนับสนุนการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน (2) 2. เพื่อให้ชุมชนร่วมทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายป้องกันโรคไข้เลือดออก (3) 3. เพื่อให้ชุมชนมีระบบการควบคุมโรคไข้เลือดออกของชุมชนเมื่อมีการระบาดของโรคไข้เลือดออก

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการป้องกันการเกิดโรคไข้เลือดออก จังหวัด ตรัง

    รหัสโครงการ

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางหนึ่งหทัย สกุลส่องบุญศิริ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด