กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ่อหิน


“ โครงการหนูน้อยฟันสวย ”

ตำบลบ่อหิน อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นางชนิษฐา ชื่นชม

ชื่อโครงการ โครงการหนูน้อยฟันสวย

ที่อยู่ ตำบลบ่อหิน อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 66-L8429-03-02 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 30 มีนาคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการหนูน้อยฟันสวย จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ่อหิน อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ่อหิน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการหนูน้อยฟันสวย



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการหนูน้อยฟันสวย " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ่อหิน อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 66-L8429-03-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 30 มีนาคม 2566 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 3,705.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ่อหิน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ตามพระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ.2537 แก้ไขเพิ่มเติมถึง ฉบับที่ 7 พ.ศ.2552 มาตรา 67 ภายใต้บังคับของกฎหมาย องค์การบริหารส่วนตำบล มีหน้าที่ต้องทำในเขตองค์การบริหารส่วนตำบล ดังต่อไปนี้ (5) ส่งเสริมการศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (6) ส่งเสริมการพัฒนาสตรี เด็ก เยาวชน ผู้สูงอายุ และผู้พิการและสอดคล้องกับมาตรฐานสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยแห่งชาติ มาตรฐานด้านที่ 1การบริหารจัดการพัฒนาเด็กปฐมวัยตัวบ่งชี้ที่ 1.4 การจัดการเพื่อส่งเสริมสุขภาพและการเรียนรู้ ตัวบ่งชี้ย่อย 1.4.1 มีการจัดการเพื่อส่งเสริมสุขภาพ เฝ้าระวังการเจริญเติบโตของเด็ก และดูแลการเจ็บป่วยเบื้องต้น ตัวบ่งชี้ที่ 1.5 การส่งเสริมการมีส่วนร่วมของครอบครัวและชุมชน ตัวบ่งชี้ย่อย 1.5.1 มีการสื่อสารเพื่อสร้างความสัมพันธ์และความเข้าใจอันดีระหว่างพ่อ/แม่ ผู้ปกครองกับสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยเกี่ยวกับตัวเด็ก และการดำเนินงานของสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย มาตรฐานด้านที่ 2 ครู/ผู้ดูแลเด็กให้การดูแล และจัดประสบการณ์และการเล่นเพื่อพัฒนาเด็กปฐมวัย ตัวบ่งชี้ที่ 2.4 การส่งเสริมพัฒนาการด้านอารมณ์ จิตใจ สังคม ปลูกฝังคุณธรรมและความเป็นพลเมืองที่ดี ตัวบ่งชี้ย่อย 2.4.1 สร้างความสัมพันธ์ที่ดีและมั่นคง ระหว่างผู้ใหญ่กับเด็ก จัดกิจกรรมสร้างเสริมความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างเด็กกับเด็กและการแก้ไขข้อขัดแย้ง อย่างสร้างสรรค์ นั้น
      เด็กเป็นรากฐานที่สำคัญของการพัฒนาประเทศอย่างยั่งยืนและเป็นต้นทุนทางสังคมที่มีค่ามากที่สุดเด็กแรกเกิดถึงอายุ 5 ปี เป็นช่วงวัยที่สำคัญที่สุดในชีวิตจึงควรได้รับการเอาใจใส่อย่างใกล้ชิดและเหมาะสมเพื่อให้เด็กมีสุขภาพอนามัยที่สมบูรณ์แข็งแรงและได้รับ การพัฒนาในทุกด้านการเลี้ยงดูและการจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเจริญเติบโตและการเรียนรู้ด้านต่างๆของเด็กเป็นสิ่งที่มีความสำคัญอย่างยิ่ง เพราะเด็กที่ได้รับการเลี้ยงดูอย่างมีคุณภาพ ย่อมเติบโตเป็นผู้ใหญ่ที่มีคุณภาพ เป็นที่ทราบกันดีว่าเด็กที่มีปัญหาฟันผุรุนแรงจะส่งผลกระทบต่อภาวะโภชนาการพัฒนาการเรียนรู้และพัฒนาการด้านบุคลิกภาพในวัยปฐมวัยเป็นอย่างมาก สาเหตุหลักมาจากการที่พ่อแม่จำนวนมากต้องมุ่งหาเลี้ยงชีพทำงานนอกบ้านไม่สามารถเลี้ยงดูบุตรได้เอง หรือมีเวลาเลี้ยงดูน้อยลง และต้องอาศัยคนอื่นช่วยเลี้ยงแทนการเลี้ยงดูของผู้ปกครองที่ปล่อยให้เด็กดื่มนมจนหลับคาขวด รวมถึง การดื่มนมชนิดหวาน หรือเครื่องดื่มที่มีรสหวาน ขาดการทำความสะอาดในช่องปาก เด็กไม่แปรงฟัน หรือเด็กแปรงฟันเองแต่ไม่สะอาด จึงเป็นสิ่งจำเป็นและจะต้องได้รับการเอาใจใส่ดูแลอย่างต่อเนื่อง
    ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านไสต้นวา ได้เล็งเห็นความสำคัญในพัฒนาการเด็ก การส่งเสริมให้เด็กได้รับการเลี้ยงดูที่ ถูกต้องเหมาะสมกับวัย เพื่อให้เด็กเป็นคนดี คนเก่ง และมีความสุข อีกทั้งช่วยลดอัตราการเกิดฟันผุในวัยเด็กได้อย่างมีประสิทธิภาพ จึงได้จัดทำโครงการขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้เด็ก ผู้ปกครอง ผู้ดูแลเด็ก ภาคีเครือข่าย มีความรู้ในการดูแลสุขภาพช่องปากและการแปรงฟันได้ อย่างถูกวิธี
  2. เพื่อให้ความรู้ และฝึกทักษะในการดูเเลเด็ก เกี่ยวกับการทำความสะอาดช่องปากและการให้โภชนาการที่ถูกต้องตามวัย
  3. เพื่อลดปัญหาในช่องปาก(ฟันผุ)ของเด็ก

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. -จัดอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพในช่องปากของเด็ก -ฝึกทักษะในการดูเเลเด็ก เกี่ยวกับการทำความสะอาดช่องปากและการให้โภชนาการที่ถูกต้องตามวัย

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 26
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.เด็กก่อนวัยเรียนได้รับการดูแลสุขภาพช่องปากและฟันอย่างถูกวิธี
2.ผู้เข้าร่วมอบรมมีทัศนคติที่ดี มีความรู้และทักษะในการดูแลสุขภาพช่องปากและโภชนาการที่ถูกต้อง
3.ช่วยลดการเกิดปัญหาโรคฟันผุในเด็กได้เป็นอย่างดี


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. -จัดอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพในช่องปากของเด็ก -ฝึกทักษะในการดูเเลเด็ก เกี่ยวกับการทำความสะอาดช่องปากและการให้โภชนาการที่ถูกต้องตามวัย

วันที่ 10 สิงหาคม 2566 เวลา 09:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

ระยะเตรียมการ 1. จัดทำโครงการเพื่อขออนุมัติงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลบ่อหิน 2. ประสานวิทยากร 3. ประสานงานกับกลุ่มเป้าหมายและเชิญเข้าร่วมโครงการ 4. จัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์ที่จะใช้ในการดำเนินโครงการ ระยะดำเนินการ 1. เก็บรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับภาวะสุขภาพในช่องปากของเด็ก 2. รายงานความเป็นมาของโครงการหนูน้อยฟันสวย 3. จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้ แก่นักเรียน ผู้ปกครองนักเรียน และครูผู้ดูแลเด็ก เรื่องความสำคัญของสุขภาพในช่องปากของเด็ก เป็นต้น 4. สรุปและประเมินผลโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.เด็กก่อนวัยเรียนได้รับการดูแลสุขภาพช่องปากและฟันอย่างถูกวิธี
2.ผู้เข้าร่วมอบรมมีทัศนคติที่ดี มีความรู้และทักษะในการดูแลสุขภาพช่องปากและโภชนาการที่ถูกต้อง
3.ช่วยลดการเกิดปัญหาโรคฟันผุในเด็กได้เป็นอย่างดี

 

26 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้เด็ก ผู้ปกครอง ผู้ดูแลเด็ก ภาคีเครือข่าย มีความรู้ในการดูแลสุขภาพช่องปากและการแปรงฟันได้ อย่างถูกวิธี
ตัวชี้วัด : เด็ก ผู้ปกครอง ครูผู้ดูแลเด็กมีความรู้ในการดูแล สุขภาพช่องปากและการแปรงฟันได้ อย่างถูกวิธี
100.00

 

2 เพื่อให้ความรู้ และฝึกทักษะในการดูเเลเด็ก เกี่ยวกับการทำความสะอาดช่องปากและการให้โภชนาการที่ถูกต้องตามวัย
ตัวชี้วัด : ครูผู้ดูแลเด็ก และผู้ปกครองความรู้ และฝึกทักษะในการดูเเลเด็ก เกี่ยวกับการทำความสะอาดช่องปากและการให้โภชนาการที่ถูกต้องตามวัย
100.00

 

3 เพื่อลดปัญหาในช่องปาก(ฟันผุ)ของเด็ก
ตัวชี้วัด : ลดปัญหาในช่องปาก(ฟันผุ)ของเด็ก
50.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 26
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 26
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เด็ก ผู้ปกครอง ผู้ดูแลเด็ก ภาคีเครือข่าย มีความรู้ในการดูแลสุขภาพช่องปากและการแปรงฟันได้ อย่างถูกวิธี (2) เพื่อให้ความรู้ และฝึกทักษะในการดูเเลเด็ก เกี่ยวกับการทำความสะอาดช่องปากและการให้โภชนาการที่ถูกต้องตามวัย (3) เพื่อลดปัญหาในช่องปาก(ฟันผุ)ของเด็ก

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) -จัดอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพในช่องปากของเด็ก -ฝึกทักษะในการดูเเลเด็ก เกี่ยวกับการทำความสะอาดช่องปากและการให้โภชนาการที่ถูกต้องตามวัย

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการหนูน้อยฟันสวย จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 66-L8429-03-02

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางชนิษฐา ชื่นชม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด