กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการรณรงค์และการป้องกันโรคภัยใกล้ตัว
รหัสโครงการ 66-L02-11
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยงานอื่นๆ ที่ไม่ใช่หน่วยงานสาธารณสุข เช่น โรงเรียน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงเรียนบ้านพิเทน(วันครู 2502)
วันที่อนุมัติ 16 มิถุนายน 2566
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 มิถุนายน 2566 - 31 สิงหาคม 2566
กำหนดวันส่งรายงาน 15 กันยายน 2566
งบประมาณ 37,160.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางแวแย หะมะ
พี่เลี้ยงโครงการ -
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลพิเทน อำเภอทุ่งยางแดง จังหวัดปัตตานี
ละติจูด-ลองจิจูด 6.679,101.467place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานเผชิญภัยพิบัติและโรคระบาด
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 229 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน :

กลุ่มวัยทำงาน 21 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

กลุ่มผู้สูงอายุ 14 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้สูงอายุ :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

โรคภัยใกล้ตัวเป็นปัญหาสำคัญทางด้านสาธารณสุขและเป็นปัญหาซึ่งปัจจุบันมีแนวโน้มของการเกิดโรคสูงขึ้น ไข้หวัด โรคไข้เลือดออก โรคมือเท้าปาก โรคฟันผุ โรคในช่องปาก โรคตาแดงและโรคโควิด-19 ซึ่งกลุ่มเด็กวัยเรียนเป็นกลุ่มที่อ่อนแอและมักประสบกับภาวการณ์แพร่ระบาดของโรค แต่ด้วยการขาดความรู้ความเข้าใจ ในการดูแลตนเองและคนรอบข้างทำให้สถิติการป่วยของนักเรียนมีอย่างต่อเนื่อง ดังนั้นการสร้างภูมิคุ้มกันในการดูแลตนเอง การป้องกันจากต้นทางของโรคและป้องกันตนเองจากการเป็นพาหะนำโรคสู่ผู้อื่นเป็นสิ่งจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องดำเนินการ เพื่อที่จะสามารถควบคุมหรือจำกัดวงจรการแพร่ระบาดของโรคภัยใกล้ตัวต่างๆได้ ซึ่งเป็นการยากที่จะอาศัยเจ้าหน้าที่สาธารณสุขของรัฐเพียงฝ่ายเดียว การที่จะให้ได้ผลอย่างเต็มที่เต็มประสิทธิภาพจึงต้องอาศัยการมีส่วนร่วมของชุมชน ผู้ปกครอง ครูและบุคลากรในโรงเรียน นักเรียน ช่วยกันป้องกันโรคดังกล่าวในหลากหลายรูปแบบ เช่น การรณรงค์ การจัดหาสารฆ่าลูกน้ำ การให้ความรู้วิธีการป้องกัน การดูแลตนเอง การปฏิบัติตนเมื่อประสบภัยใกล้ตัว รวมทั้งการกำจัดแหล่งก่อเกิดโรค การใช้วิธีทางธรรมชาติ วิธีที่เหมาะสมกับโรค และสำคัญที่สุดคือการรู้จักป้องกันตนเองเมื่อประสบเหตุ ตลอดจนสามารถเผยแพร่ความรู้สู่ครอบครัว ชุมชน สังคมต่อไป โรงเรียนบ้านพิเทน (วันครู 2502) เล็งเห็นความสำคัญในการสร้างภูมิคุ้มกันแก่นักเรียน ครูและบุคลากรรวมทั้งเผยแพร่เข้าสู่ชุมชน จึงกำหนดให้มีการดำเนินการโครงการรณรงค์และการป้องกันโรคภัยใกล้ตัวขึ้น

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1 เพื่อป้องกันและเฝ้าระวังการแพร่ระบาดโรคภัยใกล้ตัวในโรงเรียน 2. เพื่อรณรงค์และเผยแพร่ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคภัยใกล้ตัว 3. เพื่อสร้างภูมิคุ้มกันในการดูแลตนเอง และป้องกันตนเองจากโรคภัยใกล้ตัว

 

stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
วันที่ชื่อกิจกรรมกลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)

วัตถุประสงค์ข้อที่ 1 : 1 เพื่อป้องกันและเฝ้าระวังการแพร่ระบาดโรคภัยใกล้ตัวในโรงเรียน 2. เพื่อรณรงค์และเผยแพร่ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคภัยใกล้ตัว 3. เพื่อสร้างภูมิคุ้มกันในการดูแลตนเอง และป้องกันตนเองจากโรคภัยใกล้ตัว

รวม 0 0.00 0 0.00

หมายเหตุ : งบประมาณ และ ค่าใช้จ่าย รวมทุกวัตถุประสงค์อาจจะไม่เท่ากับงบประมาณรวมได้

1 จัดประชุมครูและบุคลากรทางการศึกษาเพื่อเตรียมดำเนินโครงการและแต่งตั้งคณะกรรมการปฏิบัติหน้าที่การดำเนินโครงการ 2.ดำเนินการตามกิจกรรม - กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการป้องกันโรคไข้เลือดออกและโรคภัยใกล้ตัว * อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับโรคไข้เลือดออกและโรคภัยใกล้ตัว * การรณรงค์ เผยแพร่ประชาสัมพันธ์และป้องกันโรคภัยใกล้ตัว * ปฏิบัติการค้นหาและกำจัดลูกน้ำยุงลายในสถานศึกษา


  • กิจกรรมป้องกันโรคในช่องปาก
  • ฟันสวย ยิ้มใส
  • ตรวจสุขภาพในช่องปาก
    • กิจกรรมป้องกันโรคติดตอทางระบบหายใจ ( ไข้หวัด, โควิด-19)
  • การรณรงค์ เผยแพร่ประชาสัมพันธ์และป้องกันโรคติดต่อทางระบบหายใจ
    เหา )
  • การรณรงค์ เผยแพร่ประชาสัมพันธ์และป้องกันโรคติดตอทางการสัมผัสและใช้ของร่วมกัน
stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1 นักเรียนและบุคลากรสามารถป้องกันและเฝ้าระวังการแพร่ระบาดโรคภัยใกล้ตัวในโรงเรียนได้ 2. ผู้ปกครอง ชุมนความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคภัยใกล้ตัวและสามารถป้องกันตนเองได้ 3. นักเรียน ผู้ปกครอง ชุมชนร่วมกันสร้างภูมิคุ้มกันในการดูแลตนเอง และป้องกันตนเองจากโรคภัย

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 4 ก.ค. 2566 14:39 น.