กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเตงนอก


“ โครงการส่งเสริมสุขภาพกาย ใจ ใส่ใจผู้สูงอายุ ประจำปี 2566 ม.10 บ้านตือเบาะ ต.สะเตงนอก อ.เมือง จ.ยะลา ปีงบประมาณ 2566 ”



หัวหน้าโครงการ
นางสาวแยน๊ะ เปาะจิ

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพกาย ใจ ใส่ใจผู้สูงอายุ ประจำปี 2566 ม.10 บ้านตือเบาะ ต.สะเตงนอก อ.เมือง จ.ยะลา ปีงบประมาณ 2566

ที่อยู่ จังหวัด

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง 49/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2566 ถึง 29 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมสุขภาพกาย ใจ ใส่ใจผู้สูงอายุ ประจำปี 2566 ม.10 บ้านตือเบาะ ต.สะเตงนอก อ.เมือง จ.ยะลา ปีงบประมาณ 2566 จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเตงนอก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพกาย ใจ ใส่ใจผู้สูงอายุ ประจำปี 2566 ม.10 บ้านตือเบาะ ต.สะเตงนอก อ.เมือง จ.ยะลา ปีงบประมาณ 2566



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพกาย ใจ ใส่ใจผู้สูงอายุ ประจำปี 2566 ม.10 บ้านตือเบาะ ต.สะเตงนอก อ.เมือง จ.ยะลา ปีงบประมาณ 2566 " ดำเนินการในพื้นที่ รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2566 - 29 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 29,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเตงนอก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ผู้สูงอายุถือว่าเป็นปูชนียบุคคลของสังคมที่มีคุณค่ายิ่งเนื่องจากผ่านประสบการณ์มามาก เคยเป็นกำลังสำคัญของสังคมมาก่อน มีความรู้ มีทักษะ ในการสืบทอดประเพณีวัฒนธรรมท้องถิ่น วิถีชีวิตดั้งเดิม และได้ทำคุณประโยชน์แก่สังคมมาแล้วมากมาย จำเป็นอย่างยิ่งที่คนรุ่นหลังจะต้องให้ความสำคัญ ในการยกย่องให้การดูแลผู้สูงอายุเหล่านี้ให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี สุขภาพจิต สุขภาพกาย เพื่อให้ผู้สูงอายุสามารถดำรงชีวิตอยู่ในสังคมอย่างมีความสุข เนื่องจากจำนวนและสัดส่วนประชากรสูงอายุมีการเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ปัจจัยที่ทำให้จำนวนผู้สูงอายุที่เพิ่มมากขึ้น เนื่องมาจากการพัฒนาด้านสาธารณสุขและทางการแพทย์ ทำให้อัตราการตายลดลง ผู้สูงอายุจึงมีชีวิตที่ยืนยาวขึ้น  แต่ผู้สูงอายุก็ยังได้รับผลกระทบจากการเสื่อมถอยของร่างกายตามวัย รวมทั้งผลของโรคเรื้อรังหรืออุบัติเหตุ      จึงนำไปสู่ความถดถอยของร่างกาย เกิดภาวะพึ่งพา ไม่สามารถช่วยเหลือตัวเองได้หรือช่วยเหลือตนเองได้น้อย หรืออาจมีอาการสมองเสื่อม ทำให้ต้องอาศัยพึ่งพาเป็นภาระแก่ผู้ดูแล เกิดภาวะทุพพลภาพในที่สุด สิ่งเหล่านี้ทำให้ผู้สูงอายุดำรงชีวิตอยู่อย่างไม่มีความสุข ผู้สูงอายุจึงควรให้ความสนใจดูแลสุขภาพให้สมบูรณ์แข็งแรงมีคุณภาพชีวิตที่ดีป้องกันการเกิดโรคต่างๆ รวมทั้งฟื้นฟูสุขภาพเมื่อมีภาวะของโรค และควบคุมให้ภาวะของโรคเหล่านั้นมีอาการคงที่ไม่กำเริบรุนแรงหรือเสื่อมถอยมากกว่าเดิมซึ่งจะทำให้ผู้สูงอายุมีชีวิตอยู่อย่างมีคุณค่าสามารถทำประโยชน์ให้แก่สังคม และ  มีความสุขในบั้นปลายของชีวิต อาสาสมัครสาธารณสุข ม.10 บ้านตือเบาะ ได้ให้ความสำคัญในการดูแลคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ จึงจัดทำแผนงานโครงการส่งเสริมสุขภาพกาย ใจ ใส่ใจผู้สูงอายุ ประจำปี 2566 เพื่อเป็นการพัฒนาคุณภาพชีวิตรอบด้านของผู้สูงอายุ
ดังนั้นการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุจึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่ทุกฝ่ายจะต้องร่วมมืออย่างจริงจัง  และต่อเนื่องในการเตรียมความพร้อมให้ผู้สูงอายุทุกคนตลอดจนบุคคลในครอบครัวและชุมชน เพื่อเป็นการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุให้มีอายุขัยที่ยืนยาวขึ้น มีสุขภาพแข็งแรงทั้งร่างกายและจิตใจ อันนำไปสู่คุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น    ของผู้สูงอายุ อาสาสมัครประจำหมู่บ้าน (อสม.) หมู่ 10 บ้านตือเบาะ จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพกาย ใจ ใส่ใจผู้สูงอายุ ประจำปี 2566

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้ ความเข้าใจ ในการดูแลสุขภาพอนามัยของตนเอง ทั้งด้านโภชนาการ การฟื้นฟู สมรรถภาพร่างกาย และจิตใจ
  2. 2. เพื่อเป็นการสร้างขวัญ และกำลังใจให้ผู้สูงอายุมีทัศนคติที่ดีต่อการดูแลสุขภาพให้แข็งแรง เพื่อดำรงอยู่ในสังคมอย่างมีคุณค่า
  3. 3. เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุ ได้มีกิจกรรมร่วมกัน ลดภาวการณ์เกิดโรคซึมเศร้าในวัยผู้สูงอายุ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมที่ อบรมให้ความรู้ผู้สูงอายุ จำนวน 100 คน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพอนามัยของตนเอง ทั้งด้านโภชนาการ การฟื้นฟูสมรรถภาพร่างกายและจิตใจ 2.ผู้สูงอายุมีมีทัศนคติที่ดีต่อการดูแลสุขภาพให้แข็งแรง 3.ผู้สูงอายุ ได้มีกิจกรรมร่วมกัน ลดภาวการณ์เกิดโรคซึมเศร้าในวัยผู้สูงอายุ ได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ พูดคุยกัน ได้มีการช่วยเหลือซึ่งกันและกัน


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมที่ อบรมให้ความรู้ผู้สูงอายุ จำนวน 100 คน

วันที่ 7 กันยายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ขั้นเตรียมการ 1. จัดทำโครงการฯขอนุมัติงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองสะเตงนอก 2. จัดหาคณะทำงาน กลุ่ม อสม. ตัวแทนผู้สูงอายุ และเจ้าหน้าที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสะเตงนอก 3. ประชุมคณะทำงานแบ่งงานรับผิดชอบพร้อมวางแผนการดำเนินกิจกรรมฯ 4. จัดเตรียมสถานที่สำหรับการอบรมเชิงปฏิบัติการ
5. ดำเนินตามโครงการ 6. สรุป ประเมินผลการดำเนินโครงการ
ขั้นดำเนินการ
1 ตรวจคัดกรองเบื้องต้น (วัดความดัน ,เจาะเลือด , ชั่งน้ำหนัก)
2 จัดอบรมเชิงปฏิบัติการ ผู้สูงอายุ ประเมินคัดกรองผู้สูงอายุ 9 ด้าน 3 กิจกรรมสันทนการ (ออกกำลังกายอย่างไรให้ได้ประโยชน์ และเหมาะสมกับช่วงวัยผู้สูงอายุ) 4 กิจกรรมการฝึกอาชีพ (ประดิษฐ์ของใช้ที่จำเป็นในชีวิตประจำวันของผู้สูงอายุ เช่น น้ำยาล้างจาน หรือวิชาอื่นๆ ตามที่ผู้สูงอายุมีความต้องการ)

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.ผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพอนามัยของตนเอง ทั้งด้านโภชนาการ การฟื้นฟูสมรรถภาพร่างกายและจิตใจ 2.ผู้สูงอายุมีมีทัศนคติที่ดีต่อการดูแลสุขภาพให้แข็งแรง 3.ผู้สูงอายุ ได้มีกิจกรรมร่วมกัน ลดภาวการณ์เกิดโรคซึมเศร้าในวัยผู้สูงอายุ ได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ พูดคุยกัน ได้มีการช่วยเหลือซึ่งกันและกัน

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้ ความเข้าใจ ในการดูแลสุขภาพอนามัยของตนเอง ทั้งด้านโภชนาการ การฟื้นฟู สมรรถภาพร่างกาย และจิตใจ
ตัวชี้วัด :
0.00

 

2 2. เพื่อเป็นการสร้างขวัญ และกำลังใจให้ผู้สูงอายุมีทัศนคติที่ดีต่อการดูแลสุขภาพให้แข็งแรง เพื่อดำรงอยู่ในสังคมอย่างมีคุณค่า
ตัวชี้วัด :
0.00

 

3 3. เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุ ได้มีกิจกรรมร่วมกัน ลดภาวการณ์เกิดโรคซึมเศร้าในวัยผู้สูงอายุ
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้ ความเข้าใจ ในการดูแลสุขภาพอนามัยของตนเอง ทั้งด้านโภชนาการ การฟื้นฟู สมรรถภาพร่างกาย และจิตใจ (2) 2. เพื่อเป็นการสร้างขวัญ และกำลังใจให้ผู้สูงอายุมีทัศนคติที่ดีต่อการดูแลสุขภาพให้แข็งแรง เพื่อดำรงอยู่ในสังคมอย่างมีคุณค่า (3) 3. เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุ ได้มีกิจกรรมร่วมกัน ลดภาวการณ์เกิดโรคซึมเศร้าในวัยผู้สูงอายุ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ อบรมให้ความรู้ผู้สูงอายุ  จำนวน  100 คน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมสุขภาพกาย ใจ ใส่ใจผู้สูงอายุ ประจำปี 2566 ม.10 บ้านตือเบาะ ต.สะเตงนอก อ.เมือง จ.ยะลา ปีงบประมาณ 2566 จังหวัด

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวแยน๊ะ เปาะจิ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด