โครงการส่งเสริมสุขภาพและการดูแลผู้สูงอายุ ผู้พิการ กลุ่มเสี่ยงและผู้ป่วยโรคเรื้อรัง หมู่ที่ 6 ตำบลนาหว้า
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมสุขภาพและการดูแลผู้สูงอายุ ผู้พิการ กลุ่มเสี่ยงและผู้ป่วยโรคเรื้อรัง หมู่ที่ 6 ตำบลนาหว้า ”
ตำบลนาหว้า อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลนาหว้า
พฤศจิกายน 2566
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพและการดูแลผู้สูงอายุ ผู้พิการ กลุ่มเสี่ยงและผู้ป่วยโรคเรื้อรัง หมู่ที่ 6 ตำบลนาหว้า
ที่อยู่ ตำบลนาหว้า อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 66-L5182-02-19 เลขที่ข้อตกลง 21/2566
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 29 กันยายน 2566 ถึง 30 พฤศจิกายน 2566
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมสุขภาพและการดูแลผู้สูงอายุ ผู้พิการ กลุ่มเสี่ยงและผู้ป่วยโรคเรื้อรัง หมู่ที่ 6 ตำบลนาหว้า จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลนาหว้า อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลนาหว้า ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพและการดูแลผู้สูงอายุ ผู้พิการ กลุ่มเสี่ยงและผู้ป่วยโรคเรื้อรัง หมู่ที่ 6 ตำบลนาหว้า
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพและการดูแลผู้สูงอายุ ผู้พิการ กลุ่มเสี่ยงและผู้ป่วยโรคเรื้อรัง หมู่ที่ 6 ตำบลนาหว้า " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลนาหว้า อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 66-L5182-02-19 ระยะเวลาการดำเนินงาน 29 กันยายน 2566 - 30 พฤศจิกายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 12,880.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลนาหว้า เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
การดูแลสุขภาพชุมชน เป็นความรับผิดชอบร่วมกันของผู้เกี่ยวข้องทุกภาคส่วนทั้งในส่วนของ ของรัฐ เช่น องค์กรส่วนท้องถิ่น นโยบาย งบประมาณ บุคลากรผู้บริหารท้องถิ่นองค์กรภาคประชาชนเช่น ประชาคม กลุ่มช่วยเหลือกัน กลุ่มผู้นำชุมชน เครือข่ายผู้ให้บริการทางสุขภาพในชุมชนอีกทั้งคุณลักษณะของงานการดูแลสุขภาพชุมชน เป็นงานที่คำนึงถึงปัญหาสุขภาพและความต้องการด้านสุขภาพของชุมชนเป็นตัวตั้ง ต้องใช้ทุนเดิมเป็นหลักและมีหลายเจ้าภาพต้องการวิธีทำงานจากหลายแนวคิด ต้องสร้างการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนให้เกิดขึ้นอย่างจริงจัง โดยประชาชน ชุมชนและองค์กรในชุมชนต้องมีศักยภาพ การพัฒนาระบบการทำงานดูแลสุขภาพชุมชนจึงเป็นเครื่องมือและเป้าหมายสำคัญในการดูแลสุขภาพชุมชนที่มุ่งเน้นให้ประชาชนในชุมชนมีศักยภาพในการจัดการกับปัญหาและความเจ็บป่วยของตนเอง ภายใต้แนวคิด วิถีการดูแลตามธรรมชาติของชุมชนแสวงหาและใช้ทุนทางสังคมที่มีอยู่อย่างมีศักยภาพมาเป็นกลไกสำคัญในการพัฒนากระบวนการมีส่วนร่วม ให้เกิดการดูแลสุขภาพชุมชนโดยชุมชนอย่างแท้จริง จนสามารถเกิดกระบวนการดูแลสุขภาพชุมชนอย่างต่อเนื่องบนฐานของการรับรู้ร่วมกัน เข้าใจปัญหาและความต้องการร่วมกันของชุมชนเพื่อนำไปสู่กระบวนการพัฒนาสุขภาพชุมชนที่เข้มแข็ง และยั่งยืนในอนาคต ปัญหาสุขภาพของผู้สูงอายุ ส่วนใหญ่เกิดจากการถดถอยของสมรรถนะร่างกาย และภาวะเจ็บป่วยเรื้อรังซึ่งเพิ่มขึ้นตามอายุ และโดยเฉลี่ยมีมากกว่าหนึ่งโรคในการพัฒนาและยกระดับความรู้อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) ให้เป็น อสม.หมอประจำบ้าน ควบคู่กับการใช้เทคโนโลยีสื่อสารทางการแพทย์ พร้อมทั้งเพิ่มประสิทธิภาพระบบบริการสาธารณสุขในชุมชนโดยการเพิ่มบทบาท อสม.หมอประจำบ้าน เพื่อให้ประชาชนได้รับบริการที่มีคุณภาพ ปลอดภัย ลดคงความแออัด ลดความเหลื่อมล้ำ ลดการรอคอย ลดภาระค่าใช้จ่าย และเป็นการช่วยลดปัญหาสุขภาพ ส่งเสริมให้ประชาชนพึ่งตนเองได้ เป็นการช่วยลดความแออัดของโรงพยาบาล และลดการพึ่งพาโรงพยาบาลได้ กระทรวงสาธารรสุข การพัฒนาความรู้ ทักษะ ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ใช้ป็นแนวทางการดำเนินงาน รวมทั้งแสดงให้ประชาชนทั่วไปทราบถึงบทบาทการดำเนินงานของ อสม.หมอประจำบ้าน ในการปฏิบัติงานและแสดงบทบาทอย่างเข้มแข็ง กระทรวงสาธารณสุขได้มีนโยบายการพัฒนาด้านสุขภาพเพื่อให้ประชาชนทุกคนมีสุขภาพดี อยู่ในสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการดำรงชีวิตที่ดี เกิดความทั่วถึง เท่าเทียมของประชาชนทุกคน โดยให้ประชาชนได้รับรู้สถานะของตนเองและเข้าถึงการคัดกรองโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง และได้กำหนดให้ดำเนินการพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัยให้มีความครอบคลุมในมิติทางด้านสุขภาพทั้ง 4 มิติ คือ มิติด้านการป้องกันโรคการส่งเสริมสุขภาพ การรักษาพยาบาล และการฟื้นฟูสภาพ เน้นให้เกิดการสร้างสุขภาพมากกว่าการซ่อมสุขภาพซึ่งเกี่ยวข้องกับความรู้ ความเข้าใจ ความตระหนักด้านสุขภาพ จนเกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมความเคยชินให้เป็นพฤติกรรมที่ลดเสี่ยงต่อการเกิดโรค และลดโรคที่เป็นแล้วให้เป็นน้อยลง หรือหายเป็นปกติ การ “ปรับก่อนป่วย” เพราะโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ได้แก่ โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง มีปัจจัยเสี่ยงร่วมกับสภาพแวดล้อมและวิถีชีวิตการส่งเสริมสุขภาพจึงเน้นให้ “ประชาชนสุขภาพดี เริ่มต้นที่สร้างนำซ่อม” อาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.) ผู้เป็นพลังชุมชนที่สำคัญในการเป็นผู้นำ เป็นต้นแบบในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ มีบทบาทที่สำคัญในการถ่ายทอดความรู้ ทักษะด้านสุขภาพให้แก่คนในชุมชนร่วมรู้สถานะสุขภาพ ร่วมปรับพฤติกรรม ต้านภัยโรคเบาหวานแลความดันโลหิตสูง การพัฒนา โดยเน้นหลักการมีส่วนร่วม คือ ร่วมคิด ร่วมวางแผน ร่วมดำเนินการ และร่วมประเมินผลสำเร็จ
ดังนั้น ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพและการดูแลผู้สูงอายุ ผู้พิการ กลุ่มเสี่ยงและผู้ป่วยโรคเรื้อรัง เพื่อเพิ่มพลังชุมชน รู้ตน ลดเสี่ยง ลดโรค ปรับพฤติกรรม ต้านภัยเบาหวาน ความดันโลหิตสูง การดูแลผู้สูงอายุ ผู้พิการและชุมชนพัฒนาเป็นองค์กรสร้างสุขภาพ ลดเสี่ยง ลดโรคได้อย่างยั่งยืนสืบไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อเพิ่มคนพิการที่เข้าถึงบริการฟื้นฟูสมรรภาพ
- เพิ่มศักยภาพผู้ดูแลหรือญาติสามารถดูแลคนพิการ
- เพื่อลดจำนวนผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง
- เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง
- เพื่อแก้ปัญหาผู้ป่วยเบาหวานที่เกิดภาวะแทรกซ้อน เช่น เบาหวานขึ้นจอประสาทตา แผล ไตวาย
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ประชุมวางแผนการดำเนินและการสร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชน
- ประเมินคัดกรองกลุ่มเสี่ยงและรับสมัครผู้สนใจเข้ารับการพัฒนาศักยภาพฯ เข้าร่วมโครงการ
- พัฒนาศักยภาพ อาสาสมัครสาธารณสุข ผู้ดูแลกลุ่มเป้าหมายในการคัดกรองความเสี่ยง การดูแล การให้คำแนะนำและการป้องกันความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้น
- ติดตามเยี่ยมเสริมพลังแก่กลุ่มเป้าหมายและประเมินภาวะสุขภาพกลุ่มเป้าหมายและครอบครัว
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
10
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
10
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
10
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผู้ดูแลผู้พิการ
10
อสม.
17
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ประชาชนกลุ่มเสี่ยง กลุ่มป่วย และผู้สูงอายุ ผู้พิการ ได้รับการดูแลด้านสุขภาพ จากกลุ่มเครือข่ายด้านสุขภาพส่งผลให้มีมีสุขภาพดีและมีความสุข
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. ประเมินคัดกรองกลุ่มเสี่ยงและรับสมัครผู้สนใจเข้ารับการพัฒนาศักยภาพฯ เข้าร่วมโครงการ
วันที่ 4 ตุลาคม 2566 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
-
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
-
0
0
2. ประชุมวางแผนการดำเนินและการสร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชน
วันที่ 15 ตุลาคม 2566 เวลา 14:00 น.กิจกรรมที่ทำ
วางแผนการดำเนินงานกับผู้เกี่ยวข้อง จำนวน 17 คน ในการการสร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชน การจัดทำระบบข้อมูลสถานการณ์ผู้สูงอายุในชุมชน การร่วมกับชุมชนในการจัดทำแผนสุขภาพและโครงการแก้ไขปัญหา
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
รายงานการประชุม
0
0
3. พัฒนาศักยภาพ อาสาสมัครสาธารณสุข ผู้ดูแลกลุ่มเป้าหมายในการคัดกรองความเสี่ยง การดูแล การให้คำแนะนำและการป้องกันความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้น
วันที่ 16 ตุลาคม 2566 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
-
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
-
0
0
4. ติดตามเยี่ยมเสริมพลังแก่กลุ่มเป้าหมายและประเมินภาวะสุขภาพกลุ่มเป้าหมายและครอบครัว
วันที่ 19 ตุลาคม 2566 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ให้บริการวัดความดันโลหิต ชั่งน้ำหนัก หาค่าดัชนีมวลกาย ประเมินความเครียด ประเมินความสุข ให้คำแนะนำในการป้องกันความเสี่ยง การให้กำลังใจ การดูแลตนเองและการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เหมาะสม
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
เครื่องวัดความดัน
0
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อเพิ่มคนพิการที่เข้าถึงบริการฟื้นฟูสมรรภาพ
ตัวชี้วัด : ร้อยละของคนพิการที่เข้าถึงบริการฟื้นฟู
88.40
99.00
2
เพิ่มศักยภาพผู้ดูแลหรือญาติสามารถดูแลคนพิการ
ตัวชี้วัด : ร้อยละของผู้ดูแลหรือญาติสามารถให้การดูแลผู้พิการได้
69.84
90.00
3
เพื่อลดจำนวนผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง
ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง ลดลง
19.89
15.00
4
เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง
ตัวชี้วัด : ร้อยละประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง ลดลง
28.40
20.00
5
เพื่อแก้ปัญหาผู้ป่วยเบาหวานที่เกิดภาวะแทรกซ้อน เช่น เบาหวานขึ้นจอประสาทตา แผล ไตวาย
ตัวชี้วัด : ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานที่เกิดภาวะแทรกซ้อน เช่น เบาหวานขึ้นจอประสาทตา แผล ไตวาย ลดลง
1.40
0.50
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
57
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
0
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
10
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
0
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
10
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
0
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
10
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
ผู้ดูแลผู้พิการ
10
อสม.
17
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเพิ่มคนพิการที่เข้าถึงบริการฟื้นฟูสมรรภาพ (2) เพิ่มศักยภาพผู้ดูแลหรือญาติสามารถดูแลคนพิการ (3) เพื่อลดจำนวนผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง (4) เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง (5) เพื่อแก้ปัญหาผู้ป่วยเบาหวานที่เกิดภาวะแทรกซ้อน เช่น เบาหวานขึ้นจอประสาทตา แผล ไตวาย
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมวางแผนการดำเนินและการสร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชน (2) ประเมินคัดกรองกลุ่มเสี่ยงและรับสมัครผู้สนใจเข้ารับการพัฒนาศักยภาพฯ เข้าร่วมโครงการ (3) พัฒนาศักยภาพ อาสาสมัครสาธารณสุข ผู้ดูแลกลุ่มเป้าหมายในการคัดกรองความเสี่ยง การดูแล การให้คำแนะนำและการป้องกันความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้น (4) ติดตามเยี่ยมเสริมพลังแก่กลุ่มเป้าหมายและประเมินภาวะสุขภาพกลุ่มเป้าหมายและครอบครัว
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการส่งเสริมสุขภาพและการดูแลผู้สูงอายุ ผู้พิการ กลุ่มเสี่ยงและผู้ป่วยโรคเรื้อรัง หมู่ที่ 6 ตำบลนาหว้า จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 66-L5182-02-19
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมสุขภาพและการดูแลผู้สูงอายุ ผู้พิการ กลุ่มเสี่ยงและผู้ป่วยโรคเรื้อรัง หมู่ที่ 6 ตำบลนาหว้า ”
ตำบลนาหว้า อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
พฤศจิกายน 2566
ที่อยู่ ตำบลนาหว้า อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 66-L5182-02-19 เลขที่ข้อตกลง 21/2566
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 29 กันยายน 2566 ถึง 30 พฤศจิกายน 2566
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมสุขภาพและการดูแลผู้สูงอายุ ผู้พิการ กลุ่มเสี่ยงและผู้ป่วยโรคเรื้อรัง หมู่ที่ 6 ตำบลนาหว้า จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลนาหว้า อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลนาหว้า ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพและการดูแลผู้สูงอายุ ผู้พิการ กลุ่มเสี่ยงและผู้ป่วยโรคเรื้อรัง หมู่ที่ 6 ตำบลนาหว้า
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพและการดูแลผู้สูงอายุ ผู้พิการ กลุ่มเสี่ยงและผู้ป่วยโรคเรื้อรัง หมู่ที่ 6 ตำบลนาหว้า " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลนาหว้า อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 66-L5182-02-19 ระยะเวลาการดำเนินงาน 29 กันยายน 2566 - 30 พฤศจิกายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 12,880.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลนาหว้า เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
การดูแลสุขภาพชุมชน เป็นความรับผิดชอบร่วมกันของผู้เกี่ยวข้องทุกภาคส่วนทั้งในส่วนของ ของรัฐ เช่น องค์กรส่วนท้องถิ่น นโยบาย งบประมาณ บุคลากรผู้บริหารท้องถิ่นองค์กรภาคประชาชนเช่น ประชาคม กลุ่มช่วยเหลือกัน กลุ่มผู้นำชุมชน เครือข่ายผู้ให้บริการทางสุขภาพในชุมชนอีกทั้งคุณลักษณะของงานการดูแลสุขภาพชุมชน เป็นงานที่คำนึงถึงปัญหาสุขภาพและความต้องการด้านสุขภาพของชุมชนเป็นตัวตั้ง ต้องใช้ทุนเดิมเป็นหลักและมีหลายเจ้าภาพต้องการวิธีทำงานจากหลายแนวคิด ต้องสร้างการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนให้เกิดขึ้นอย่างจริงจัง โดยประชาชน ชุมชนและองค์กรในชุมชนต้องมีศักยภาพ การพัฒนาระบบการทำงานดูแลสุขภาพชุมชนจึงเป็นเครื่องมือและเป้าหมายสำคัญในการดูแลสุขภาพชุมชนที่มุ่งเน้นให้ประชาชนในชุมชนมีศักยภาพในการจัดการกับปัญหาและความเจ็บป่วยของตนเอง ภายใต้แนวคิด วิถีการดูแลตามธรรมชาติของชุมชนแสวงหาและใช้ทุนทางสังคมที่มีอยู่อย่างมีศักยภาพมาเป็นกลไกสำคัญในการพัฒนากระบวนการมีส่วนร่วม ให้เกิดการดูแลสุขภาพชุมชนโดยชุมชนอย่างแท้จริง จนสามารถเกิดกระบวนการดูแลสุขภาพชุมชนอย่างต่อเนื่องบนฐานของการรับรู้ร่วมกัน เข้าใจปัญหาและความต้องการร่วมกันของชุมชนเพื่อนำไปสู่กระบวนการพัฒนาสุขภาพชุมชนที่เข้มแข็ง และยั่งยืนในอนาคต ปัญหาสุขภาพของผู้สูงอายุ ส่วนใหญ่เกิดจากการถดถอยของสมรรถนะร่างกาย และภาวะเจ็บป่วยเรื้อรังซึ่งเพิ่มขึ้นตามอายุ และโดยเฉลี่ยมีมากกว่าหนึ่งโรคในการพัฒนาและยกระดับความรู้อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) ให้เป็น อสม.หมอประจำบ้าน ควบคู่กับการใช้เทคโนโลยีสื่อสารทางการแพทย์ พร้อมทั้งเพิ่มประสิทธิภาพระบบบริการสาธารณสุขในชุมชนโดยการเพิ่มบทบาท อสม.หมอประจำบ้าน เพื่อให้ประชาชนได้รับบริการที่มีคุณภาพ ปลอดภัย ลดคงความแออัด ลดความเหลื่อมล้ำ ลดการรอคอย ลดภาระค่าใช้จ่าย และเป็นการช่วยลดปัญหาสุขภาพ ส่งเสริมให้ประชาชนพึ่งตนเองได้ เป็นการช่วยลดความแออัดของโรงพยาบาล และลดการพึ่งพาโรงพยาบาลได้ กระทรวงสาธารรสุข การพัฒนาความรู้ ทักษะ ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ใช้ป็นแนวทางการดำเนินงาน รวมทั้งแสดงให้ประชาชนทั่วไปทราบถึงบทบาทการดำเนินงานของ อสม.หมอประจำบ้าน ในการปฏิบัติงานและแสดงบทบาทอย่างเข้มแข็ง กระทรวงสาธารณสุขได้มีนโยบายการพัฒนาด้านสุขภาพเพื่อให้ประชาชนทุกคนมีสุขภาพดี อยู่ในสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการดำรงชีวิตที่ดี เกิดความทั่วถึง เท่าเทียมของประชาชนทุกคน โดยให้ประชาชนได้รับรู้สถานะของตนเองและเข้าถึงการคัดกรองโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง และได้กำหนดให้ดำเนินการพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัยให้มีความครอบคลุมในมิติทางด้านสุขภาพทั้ง 4 มิติ คือ มิติด้านการป้องกันโรคการส่งเสริมสุขภาพ การรักษาพยาบาล และการฟื้นฟูสภาพ เน้นให้เกิดการสร้างสุขภาพมากกว่าการซ่อมสุขภาพซึ่งเกี่ยวข้องกับความรู้ ความเข้าใจ ความตระหนักด้านสุขภาพ จนเกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมความเคยชินให้เป็นพฤติกรรมที่ลดเสี่ยงต่อการเกิดโรค และลดโรคที่เป็นแล้วให้เป็นน้อยลง หรือหายเป็นปกติ การ “ปรับก่อนป่วย” เพราะโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ได้แก่ โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง มีปัจจัยเสี่ยงร่วมกับสภาพแวดล้อมและวิถีชีวิตการส่งเสริมสุขภาพจึงเน้นให้ “ประชาชนสุขภาพดี เริ่มต้นที่สร้างนำซ่อม” อาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.) ผู้เป็นพลังชุมชนที่สำคัญในการเป็นผู้นำ เป็นต้นแบบในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ มีบทบาทที่สำคัญในการถ่ายทอดความรู้ ทักษะด้านสุขภาพให้แก่คนในชุมชนร่วมรู้สถานะสุขภาพ ร่วมปรับพฤติกรรม ต้านภัยโรคเบาหวานแลความดันโลหิตสูง การพัฒนา โดยเน้นหลักการมีส่วนร่วม คือ ร่วมคิด ร่วมวางแผน ร่วมดำเนินการ และร่วมประเมินผลสำเร็จ
ดังนั้น ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพและการดูแลผู้สูงอายุ ผู้พิการ กลุ่มเสี่ยงและผู้ป่วยโรคเรื้อรัง เพื่อเพิ่มพลังชุมชน รู้ตน ลดเสี่ยง ลดโรค ปรับพฤติกรรม ต้านภัยเบาหวาน ความดันโลหิตสูง การดูแลผู้สูงอายุ ผู้พิการและชุมชนพัฒนาเป็นองค์กรสร้างสุขภาพ ลดเสี่ยง ลดโรคได้อย่างยั่งยืนสืบไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อเพิ่มคนพิการที่เข้าถึงบริการฟื้นฟูสมรรภาพ
- เพิ่มศักยภาพผู้ดูแลหรือญาติสามารถดูแลคนพิการ
- เพื่อลดจำนวนผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง
- เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง
- เพื่อแก้ปัญหาผู้ป่วยเบาหวานที่เกิดภาวะแทรกซ้อน เช่น เบาหวานขึ้นจอประสาทตา แผล ไตวาย
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ประชุมวางแผนการดำเนินและการสร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชน
- ประเมินคัดกรองกลุ่มเสี่ยงและรับสมัครผู้สนใจเข้ารับการพัฒนาศักยภาพฯ เข้าร่วมโครงการ
- พัฒนาศักยภาพ อาสาสมัครสาธารณสุข ผู้ดูแลกลุ่มเป้าหมายในการคัดกรองความเสี่ยง การดูแล การให้คำแนะนำและการป้องกันความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้น
- ติดตามเยี่ยมเสริมพลังแก่กลุ่มเป้าหมายและประเมินภาวะสุขภาพกลุ่มเป้าหมายและครอบครัว
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 10 | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | 10 | |
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 10 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | ||
ผู้ดูแลผู้พิการ | 10 | |
อสม. | 17 |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ประชาชนกลุ่มเสี่ยง กลุ่มป่วย และผู้สูงอายุ ผู้พิการ ได้รับการดูแลด้านสุขภาพ จากกลุ่มเครือข่ายด้านสุขภาพส่งผลให้มีมีสุขภาพดีและมีความสุข
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. ประเมินคัดกรองกลุ่มเสี่ยงและรับสมัครผู้สนใจเข้ารับการพัฒนาศักยภาพฯ เข้าร่วมโครงการ |
||
วันที่ 4 ตุลาคม 2566 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ- ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น-
|
0 | 0 |
2. ประชุมวางแผนการดำเนินและการสร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชน |
||
วันที่ 15 ตุลาคม 2566 เวลา 14:00 น.กิจกรรมที่ทำวางแผนการดำเนินงานกับผู้เกี่ยวข้อง จำนวน 17 คน ในการการสร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชน การจัดทำระบบข้อมูลสถานการณ์ผู้สูงอายุในชุมชน การร่วมกับชุมชนในการจัดทำแผนสุขภาพและโครงการแก้ไขปัญหา ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นรายงานการประชุม
|
0 | 0 |
3. พัฒนาศักยภาพ อาสาสมัครสาธารณสุข ผู้ดูแลกลุ่มเป้าหมายในการคัดกรองความเสี่ยง การดูแล การให้คำแนะนำและการป้องกันความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้น |
||
วันที่ 16 ตุลาคม 2566 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ- ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น-
|
0 | 0 |
4. ติดตามเยี่ยมเสริมพลังแก่กลุ่มเป้าหมายและประเมินภาวะสุขภาพกลุ่มเป้าหมายและครอบครัว |
||
วันที่ 19 ตุลาคม 2566 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำให้บริการวัดความดันโลหิต ชั่งน้ำหนัก หาค่าดัชนีมวลกาย ประเมินความเครียด ประเมินความสุข ให้คำแนะนำในการป้องกันความเสี่ยง การให้กำลังใจ การดูแลตนเองและการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เหมาะสม ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นเครื่องวัดความดัน
|
0 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อเพิ่มคนพิการที่เข้าถึงบริการฟื้นฟูสมรรภาพ ตัวชี้วัด : ร้อยละของคนพิการที่เข้าถึงบริการฟื้นฟู |
88.40 | 99.00 |
|
|
2 | เพิ่มศักยภาพผู้ดูแลหรือญาติสามารถดูแลคนพิการ ตัวชี้วัด : ร้อยละของผู้ดูแลหรือญาติสามารถให้การดูแลผู้พิการได้ |
69.84 | 90.00 |
|
|
3 | เพื่อลดจำนวนผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง ลดลง |
19.89 | 15.00 |
|
|
4 | เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง ตัวชี้วัด : ร้อยละประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง ลดลง |
28.40 | 20.00 |
|
|
5 | เพื่อแก้ปัญหาผู้ป่วยเบาหวานที่เกิดภาวะแทรกซ้อน เช่น เบาหวานขึ้นจอประสาทตา แผล ไตวาย ตัวชี้วัด : ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานที่เกิดภาวะแทรกซ้อน เช่น เบาหวานขึ้นจอประสาทตา แผล ไตวาย ลดลง |
1.40 | 0.50 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 57 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 0 | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 10 | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | 0 | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | 10 | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | 0 | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 10 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - | ||
ผู้ดูแลผู้พิการ | 10 | ||
อสม. | 17 |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเพิ่มคนพิการที่เข้าถึงบริการฟื้นฟูสมรรภาพ (2) เพิ่มศักยภาพผู้ดูแลหรือญาติสามารถดูแลคนพิการ (3) เพื่อลดจำนวนผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง (4) เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง (5) เพื่อแก้ปัญหาผู้ป่วยเบาหวานที่เกิดภาวะแทรกซ้อน เช่น เบาหวานขึ้นจอประสาทตา แผล ไตวาย
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมวางแผนการดำเนินและการสร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชน (2) ประเมินคัดกรองกลุ่มเสี่ยงและรับสมัครผู้สนใจเข้ารับการพัฒนาศักยภาพฯ เข้าร่วมโครงการ (3) พัฒนาศักยภาพ อาสาสมัครสาธารณสุข ผู้ดูแลกลุ่มเป้าหมายในการคัดกรองความเสี่ยง การดูแล การให้คำแนะนำและการป้องกันความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้น (4) ติดตามเยี่ยมเสริมพลังแก่กลุ่มเป้าหมายและประเมินภาวะสุขภาพกลุ่มเป้าหมายและครอบครัว
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการส่งเสริมสุขภาพและการดูแลผู้สูงอายุ ผู้พิการ กลุ่มเสี่ยงและผู้ป่วยโรคเรื้อรัง หมู่ที่ 6 ตำบลนาหว้า จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 66-L5182-02-19
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......