กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลนาหว้า


“ โครงการส่งเสริมสุขภาพและการดูแลผู้สูงอายุ ผู้พิการ กลุ่มเสี่ยงและผู้ป่วยโรคเรื้อรัง หมู่ที่ 12 ตำบลนาหว้า ”

ตำบลนาหว้า อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพและการดูแลผู้สูงอายุ ผู้พิการ กลุ่มเสี่ยงและผู้ป่วยโรคเรื้อรัง หมู่ที่ 12 ตำบลนาหว้า

ที่อยู่ ตำบลนาหว้า อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 66-L5182-02-25 เลขที่ข้อตกลง 27/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 29 กันยายน 2566 ถึง 30 พฤศจิกายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมสุขภาพและการดูแลผู้สูงอายุ ผู้พิการ กลุ่มเสี่ยงและผู้ป่วยโรคเรื้อรัง หมู่ที่ 12 ตำบลนาหว้า จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลนาหว้า อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลนาหว้า ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพและการดูแลผู้สูงอายุ ผู้พิการ กลุ่มเสี่ยงและผู้ป่วยโรคเรื้อรัง หมู่ที่ 12 ตำบลนาหว้า



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพและการดูแลผู้สูงอายุ ผู้พิการ กลุ่มเสี่ยงและผู้ป่วยโรคเรื้อรัง หมู่ที่ 12 ตำบลนาหว้า " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลนาหว้า อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 66-L5182-02-25 ระยะเวลาการดำเนินงาน 29 กันยายน 2566 - 30 พฤศจิกายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 12,580.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลนาหว้า เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การดูแลสุขภาพชุมชน เป็นความรับผิดชอบร่วมกันของผู้เกี่ยวข้องทุกภาคส่วนทั้งในส่วนของ ของรัฐ เช่น องค์กรส่วนท้องถิ่น นโยบาย งบประมาณ บุคลากรผู้บริหารท้องถิ่นองค์กรภาคประชาชนเช่น ประชาคม กลุ่มช่วยเหลือกัน กลุ่มผู้นำชุมชน เครือข่ายผู้ให้บริการทางสุขภาพในชุมชนอีกทั้งคุณลักษณะของงานการดูแลสุขภาพชุมชน เป็นงานที่คำนึงถึงปัญหาสุขภาพและความต้องการด้านสุขภาพของชุมชนเป็นตัวตั้ง ต้องใช้ทุนเดิมเป็นหลักและมีหลายเจ้าภาพต้องการวิธีทำงานจากหลายแนวคิด ต้องสร้างการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนให้เกิดขึ้นอย่างจริงจัง โดยประชาชน ชุมชนและองค์กรในชุมชนต้องมีศักยภาพ การพัฒนาระบบการทำงานดูแลสุขภาพชุมชนจึงเป็นเครื่องมือและเป้าหมายสำคัญในการดูแลสุขภาพชุมชนที่มุ่งเน้นให้ประชาชนในชุมชนมีศักยภาพในการจัดการกับปัญหาและความเจ็บป่วยของตนเอง ภายใต้แนวคิด วิถีการดูแลตามธรรมชาติของชุมชนแสวงหาและใช้ทุนทางสังคมที่มีอยู่อย่างมีศักยภาพมาเป็นกลไกสำคัญในการพัฒนากระบวนการมีส่วนร่วม ให้เกิดการดูแลสุขภาพชุมชนโดยชุมชนอย่างแท้จริง จนสามารถเกิดกระบวนการดูแลสุขภาพชุมชนอย่างต่อเนื่องบนฐานของการรับรู้ร่วมกัน เข้าใจปัญหาและความต้องการร่วมกันของชุมชนเพื่อนำไปสู่กระบวนการพัฒนาสุขภาพชุมชนที่เข้มแข็ง และยั่งยืนในอนาคต ปัญหาสุขภาพของผู้สูงอายุ ส่วนใหญ่เกิดจากการถดถอยของสมรรถนะร่างกาย และภาวะเจ็บป่วยเรื้อรังซึ่งเพิ่มขึ้นตามอายุ และโดยเฉลี่ยมีมากกว่าหนึ่งโรคในการพัฒนาและยกระดับความรู้อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) ให้เป็น อสม.หมอประจำบ้าน ควบคู่กับการใช้เทคโนโลยีสื่อสารทางการแพทย์ พร้อมทั้งเพิ่มประสิทธิภาพระบบบริการสาธารณสุขในชุมชนโดยการเพิ่มบทบาท อสม.หมอประจำบ้าน เพื่อให้ประชาชนได้รับบริการที่มีคุณภาพ ปลอดภัย ลดคงความแออัด ลดความเหลื่อมล้ำ ลดการรอคอย ลดภาระค่าใช้จ่าย และเป็นการช่วยลดปัญหาสุขภาพ ส่งเสริมให้ประชาชนพึ่งตนเองได้ เป็นการช่วยลดความแออัดของโรงพยาบาล และลดการพึ่งพาโรงพยาบาลได้ กระทรวงสาธารรสุข การพัฒนาความรู้ ทักษะ ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ใช้ป็นแนวทางการดำเนินงาน รวมทั้งแสดงให้ประชาชนทั่วไปทราบถึงบทบาทการดำเนินงานของ อสม.หมอประจำบ้าน ในการปฏิบัติงานและแสดงบทบาทอย่างเข้มแข็ง กระทรวงสาธารณสุขได้มีนโยบายการพัฒนาด้านสุขภาพเพื่อให้ประชาชนทุกคนมีสุขภาพดี อยู่ในสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการดำรงชีวิตที่ดี เกิดความทั่วถึง เท่าเทียมของประชาชนทุกคน โดยให้ประชาชนได้รับรู้สถานะของตนเองและเข้าถึงการคัดกรองโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง และได้กำหนดให้ดำเนินการพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัยให้มีความครอบคลุมในมิติทางด้านสุขภาพทั้ง 4 มิติ คือ มิติด้านการป้องกันโรคการส่งเสริมสุขภาพ การรักษาพยาบาล และการฟื้นฟูสภาพ เน้นให้เกิดการสร้างสุขภาพมากกว่าการซ่อมสุขภาพซึ่งเกี่ยวข้องกับความรู้ ความเข้าใจ ความตระหนักด้านสุขภาพ จนเกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมความเคยชินให้เป็นพฤติกรรมที่ลดเสี่ยงต่อการเกิดโรค และลดโรคที่เป็นแล้วให้เป็นน้อยลง หรือหายเป็นปกติ การ “ปรับก่อนป่วย” เพราะโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ได้แก่ โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง มีปัจจัยเสี่ยงร่วมกับสภาพแวดล้อมและวิถีชีวิตการส่งเสริมสุขภาพจึงเน้นให้ “ประชาชนสุขภาพดี เริ่มต้นที่สร้างนำซ่อม” อาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.) ผู้เป็นพลังชุมชนที่สำคัญในการเป็นผู้นำ เป็นต้นแบบในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ มีบทบาทที่สำคัญในการถ่ายทอดความรู้ ทักษะด้านสุขภาพให้แก่คนในชุมชนร่วมรู้สถานะสุขภาพ ร่วมปรับพฤติกรรม ต้านภัยโรคเบาหวานแลความดันโลหิตสูง การพัฒนา โดยเน้นหลักการมีส่วนร่วม คือ ร่วมคิด ร่วมวางแผน ร่วมดำเนินการ และร่วมประเมินผลสำเร็จ

ดังนั้น ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพและการดูแลผู้สูงอายุ ผู้พิการ กลุ่มเสี่ยงและผู้ป่วยโรคเรื้อรัง เพื่อเพิ่มพลังชุมชน รู้ตน ลดเสี่ยง ลดโรค ปรับพฤติกรรม ต้านภัยเบาหวาน ความดันโลหิตสูง การดูแลผู้สูงอายุ ผู้พิการและชุมชนพัฒนาเป็นองค์กรสร้างสุขภาพ ลดเสี่ยง ลดโรคได้อย่างยั่งยืนสืบไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพิ่มศักยภาพผู้ดูแลหรือญาติสามารถดูแลคนพิการ
  2. เพื่อลดจำนวนผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง
  3. เพื่อลด จำนวนผู้สูงอายุที่ติดการบริโภคอาหารหวาน มัน เค็ม
  4. เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมวางแผนการดำเนินและการสร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชน
  2. ประเมินคัดกรองกลุ่มเสี่ยงและรับสมัครผู้สนใจเข้ารับการพัฒนาศักยภาพฯ เข้าร่วมโครงการ
  3. พัฒนาศักยภาพ อาสาสมัครสาธารณสุข ผู้ดูแลกลุ่มเป้าหมายในการคัดกรองความเสี่ยง การดูแล การให้คำแนะนำและการป้องกันความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้น
  4. ติดตามเยี่ยมเสริมพลังแก่กลุ่มเป้าหมายและประเมินภาวะสุขภาพกลุ่มเป้าหมายและครอบครัว

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 10
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 10
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 10
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผู้ดูแลผู้พิการ 10
อสม. 5

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ประชาชนกลุ่มเสี่ยง กลุ่มป่วย และผู้สูงอายุ ผู้พิการ ได้รับการดูแลด้านสุขภาพ จากกลุ่มเครือข่ายด้านสุขภาพส่งผลให้มีมีสุขภาพดีและมีความสุข


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพิ่มศักยภาพผู้ดูแลหรือญาติสามารถดูแลคนพิการ
ตัวชี้วัด : ร้อยละของผู้ดูแลหรือญาติสามารถให้การดูแลผู้พิการได้
81.60 95.00

 

2 เพื่อลดจำนวนผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง
ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง ลดลง
19.87 15.00

 

3 เพื่อลด จำนวนผู้สูงอายุที่ติดการบริโภคอาหารหวาน มัน เค็ม
ตัวชี้วัด : ร้อยละของผู้สูงอายุที่ชอบบริโภคอาหารหวาน มัน เค็ม ลดลง
44.20 22.00

 

4 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง
ตัวชี้วัด : ร้อยละประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง ลดลง
29.87 20.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 45
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 10
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 10
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 10
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -
ผู้ดูแลผู้พิการ 10
อสม. 5

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพิ่มศักยภาพผู้ดูแลหรือญาติสามารถดูแลคนพิการ (2) เพื่อลดจำนวนผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง (3) เพื่อลด จำนวนผู้สูงอายุที่ติดการบริโภคอาหารหวาน มัน เค็ม (4) เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมวางแผนการดำเนินและการสร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชน (2) ประเมินคัดกรองกลุ่มเสี่ยงและรับสมัครผู้สนใจเข้ารับการพัฒนาศักยภาพฯ เข้าร่วมโครงการ (3) พัฒนาศักยภาพ อาสาสมัครสาธารณสุข ผู้ดูแลกลุ่มเป้าหมายในการคัดกรองความเสี่ยง การดูแล การให้คำแนะนำและการป้องกันความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้น (4) ติดตามเยี่ยมเสริมพลังแก่กลุ่มเป้าหมายและประเมินภาวะสุขภาพกลุ่มเป้าหมายและครอบครัว

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมสุขภาพและการดูแลผู้สูงอายุ ผู้พิการ กลุ่มเสี่ยงและผู้ป่วยโรคเรื้อรัง หมู่ที่ 12 ตำบลนาหว้า จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 66-L5182-02-25

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด