โครงการอสม. ใส่ใจผู้สูงวัยสุขภาพดี ม.1 บ้านเบอเส้ง ต.สะเตงนอก อ.เมือง จ.ยะลา ปีงบประมาณ 2566
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการอสม. ใส่ใจผู้สูงวัยสุขภาพดี ม.1 บ้านเบอเส้ง ต.สะเตงนอก อ.เมือง จ.ยะลา ปีงบประมาณ 2566 ”
หัวหน้าโครงการ
นางสาวรอบีอ๊ะ สาและ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเตงนอก
กันยายน 2566
ชื่อโครงการ โครงการอสม. ใส่ใจผู้สูงวัยสุขภาพดี ม.1 บ้านเบอเส้ง ต.สะเตงนอก อ.เมือง จ.ยะลา ปีงบประมาณ 2566
ที่อยู่ จังหวัด
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง 54
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 19 มิถุนายน 2566 ถึง 29 กันยายน 2566
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการอสม. ใส่ใจผู้สูงวัยสุขภาพดี ม.1 บ้านเบอเส้ง ต.สะเตงนอก อ.เมือง จ.ยะลา ปีงบประมาณ 2566 จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเตงนอก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการอสม. ใส่ใจผู้สูงวัยสุขภาพดี ม.1 บ้านเบอเส้ง ต.สะเตงนอก อ.เมือง จ.ยะลา ปีงบประมาณ 2566
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการอสม. ใส่ใจผู้สูงวัยสุขภาพดี ม.1 บ้านเบอเส้ง ต.สะเตงนอก อ.เมือง จ.ยะลา ปีงบประมาณ 2566 " ดำเนินการในพื้นที่ รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 19 มิถุนายน 2566 - 29 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 30,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเตงนอก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
จากการศึกษาข้อมูลพบว่าประชากรผู้สูงอายุมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ทั้งด้านปริมาณและสัดส่วนต่อประชากรอันเนื่องมาจากการพัฒนาด้านสาธารณสุขและทางการแพทย์ ทำให้อัตราการตายลดลง ผู้สูงอายุจึงมีชีวิตที่ยืนยาวขึ้น แต่ผู้สูงอายุก็ได้รับผลกระทบจากการเสื่อมถอยของร่ายกายตามวัย รวมทั้งผลของโรคเรื้อรังและอุบัติเหตุ จึงนำไปสู่ความถดถอยของร่างกายและจิตใจเกิดภาวะพึ่งพิง ไม่สามารถช่วยเหลือตัวเองได้หรือช่วยเหลือตัวเองได้น้อย หรืออาจมีอาการสมองเสื่อม เกิดภาวะทุพพลภาพในที่สุดสิ่งเหล่านี้ทำให้ผู้สูงอายุดำเนินอยู่อย่างไม่มีความสุข ผู้สูงอายุจึงควรได้รับการดูแลทั้งด้านร่างกายและจิตใจจากคนรอบข้าง และผู้สูงอายุเองจำเป็นต้องให้ความสนใจดูแลสุขภาพตนเองให้สมบูรณ์แข็งแรงมีคุณภาพชีวิตที่ดี ป้องกันการเกิดโรคต่างๆ รวมทั้งฟื้นฟูสุขภาพเมื่อมีภาวะของโรค และควบคุมให้ภาวะของโรคเหล่านั้นมีอาการคงที่ ไม่กำเริบรุนแรงหรือเสื่อมถอยมากกว่าเดิม จึงทำให้ผู้สูงอายุมีชีวิตอยู่อย่างมีคุณค่า สามารถทำประโยชน์ให้แก่สังคม และมีความสุขในบั้นปลายของชีวิต ดังนั้นการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุจึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่ทุกฝ่ายจะต้องร่วมมืออย่างจริงจังและต่อเนื่องในการเตรียมความพร้อมให้ผู้สูงอายุทุกคนตลอดจนบุคคลในครอบครัวและชุมชน เพื่อเป็นการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุให้มีอายุขัยที่ยืนยาวขึ้น
มีสุขภาพแข็งแรงทั้งร่างกายและจิตใจ อันนำไปสู่คุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นของผู้สูงอายุ อาสาสมัครประจำหมู่บ้าน (อสม.) หมู่ 1 บ้านเบอเส้ง จึงได้จัดทำโครงการ อสม. ใส่ใจผู้สูงวัยสุขภาพดี
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับการคัดกรองสุขภาพกายและสุขภาพจิตตามแบบประเมินคัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุ 9 ด้าน
- เพื่อเสริมสร้างทักษะในการดูแลสุขภาพร่างกายของ ผู้สูงอายุ
- จัดตั้งชมรมผู้สูงอายุในหมู่บ้าน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- อบรมให้ความรู้ผู้สูงอายุ แบ่งเป็น 2 รุ่นๆ ละ 50 คน
- ฝึกปฏิบัติการดูแลผู้สูงอายุแบบง่ายและการออกกำลังกายป้องกันการหกล้มในผู้สูงอายุ แบ่งเป็น 2 รุ่นๆ ละ 50 คน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
100
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้สูงอายุได้รับการคัดกรองสุขภาพกายและสุขภาพจิตตามแบบประเมินคัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาวในชุมชน
- ผู้สูงอายุมีทักษะในการดูแลสุขภาพ
- ผู้สูงอายุมีปฏิสัมพันธ์และสามารถอยู่ร่วมกันภายใต้สังคมผู้สูงอายุและครอบครัว
- ผู้สูงอายุมีความรู้และสามารถดูแลสุขภาพของตนเองเบื้องต้น
- สามารถดำเนินงานชมรมผู้สูงอายุและเครือข่ายให้ยั่งยืน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. อบรมให้ความรู้ผู้สูงอายุ แบ่งเป็น 2 รุ่นๆ ละ 50 คน
วันที่ 1 กันยายน 2566 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- จัดหาคณะทำงานในชุมชนประกอบด้วย อสม.ในเขตพื้นที่รับผิดชอบ จำนวน 13 คน
- ประชุมคณะทำงานแบ่งงานรับผิดชอบพร้อมวางแผนการดำเนินกิจกรรมฯ
- จัดเตรียมสถานที่สำหรับการอบรมเชิงปฏิบัติการ
- ดำเนินการจัดอบรมเชิงปฏิบัติการ ผู้สูงอายุ ประเมินคัดกรองผู้สูงอายุ 9 ด้าน
- จัดตั้งชมรมผู้สูงอายุและรับสมัครสมาชิกกลุ่มผู้สูงอายุดำเนินกิจกรรมสร้างแกนนำกลุ่มโดยคัดเลือกกันเอง
- ติดตามประเมินคัดกรองสุขภาพกายและสุขภาพจิต คัดกรองผู้สูงอายุ 9 ด้าน โดยแกนนำ อสม.
- สรุปผลการดำเนินงาน ทบทวนกิจกรรม ปัญหาและอุปสรรค คัดกรองผู้สูงอายุ 9 ด้านในเขตรับรับผิดชอบ
- สรุปผลโครงการฯ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- ผู้สูงอายุได้รับการคัดกรองสุขภาพกายและสุขภาพจิตตามแบบประเมินคัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาวในชุมชน
- ผู้สูงอายุมีทักษะในการดูแลสุขภาพ
- ผู้สูงอายุมีปฏิสัมพันธ์และสามารถอยู่ร่วมกันภายใต้สังคมผู้สูงอายุและครอบครัว
- ผู้สูงอายุมีความรู้และสามารถดูแลสุขภาพของตนเองเบื้องต้น
0
0
2. ฝึกปฏิบัติการดูแลผู้สูงอายุแบบง่ายและการออกกำลังกายป้องกันการหกล้มในผู้สูงอายุ แบ่งเป็น 2 รุ่นๆ ละ 50 คน
วันที่ 1 กันยายน 2566 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ดำเนินการจัดอบรมเชิงปฏิบัติการ ผู้สูงอายุ ประเมินคัดกรองผู้สูงอายุ 9 ด้าน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- ผู้สูงอายุได้รับการคัดกรองสุขภาพกายและสุขภาพจิตตามแบบประเมินคัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาวในชุมชน
- ผู้สูงอายุมีทักษะในการดูแลสุขภาพ
0
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับการคัดกรองสุขภาพกายและสุขภาพจิตตามแบบประเมินคัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุ 9 ด้าน
ตัวชี้วัด :
0.00
2
เพื่อเสริมสร้างทักษะในการดูแลสุขภาพร่างกายของ ผู้สูงอายุ
ตัวชี้วัด :
0.00
3
จัดตั้งชมรมผู้สูงอายุในหมู่บ้าน
ตัวชี้วัด :
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
100
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
100
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับการคัดกรองสุขภาพกายและสุขภาพจิตตามแบบประเมินคัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุ 9 ด้าน (2) เพื่อเสริมสร้างทักษะในการดูแลสุขภาพร่างกายของ ผู้สูงอายุ (3) จัดตั้งชมรมผู้สูงอายุในหมู่บ้าน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้ผู้สูงอายุ แบ่งเป็น 2 รุ่นๆ ละ 50 คน (2) ฝึกปฏิบัติการดูแลผู้สูงอายุแบบง่ายและการออกกำลังกายป้องกันการหกล้มในผู้สูงอายุ แบ่งเป็น 2 รุ่นๆ ละ 50 คน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการอสม. ใส่ใจผู้สูงวัยสุขภาพดี ม.1 บ้านเบอเส้ง ต.สะเตงนอก อ.เมือง จ.ยะลา ปีงบประมาณ 2566 จังหวัด
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสาวรอบีอ๊ะ สาและ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการอสม. ใส่ใจผู้สูงวัยสุขภาพดี ม.1 บ้านเบอเส้ง ต.สะเตงนอก อ.เมือง จ.ยะลา ปีงบประมาณ 2566 ”
หัวหน้าโครงการ
นางสาวรอบีอ๊ะ สาและ
กันยายน 2566
ที่อยู่ จังหวัด
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง 54
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 19 มิถุนายน 2566 ถึง 29 กันยายน 2566
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการอสม. ใส่ใจผู้สูงวัยสุขภาพดี ม.1 บ้านเบอเส้ง ต.สะเตงนอก อ.เมือง จ.ยะลา ปีงบประมาณ 2566 จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเตงนอก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการอสม. ใส่ใจผู้สูงวัยสุขภาพดี ม.1 บ้านเบอเส้ง ต.สะเตงนอก อ.เมือง จ.ยะลา ปีงบประมาณ 2566
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการอสม. ใส่ใจผู้สูงวัยสุขภาพดี ม.1 บ้านเบอเส้ง ต.สะเตงนอก อ.เมือง จ.ยะลา ปีงบประมาณ 2566 " ดำเนินการในพื้นที่ รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 19 มิถุนายน 2566 - 29 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 30,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเตงนอก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
จากการศึกษาข้อมูลพบว่าประชากรผู้สูงอายุมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ทั้งด้านปริมาณและสัดส่วนต่อประชากรอันเนื่องมาจากการพัฒนาด้านสาธารณสุขและทางการแพทย์ ทำให้อัตราการตายลดลง ผู้สูงอายุจึงมีชีวิตที่ยืนยาวขึ้น แต่ผู้สูงอายุก็ได้รับผลกระทบจากการเสื่อมถอยของร่ายกายตามวัย รวมทั้งผลของโรคเรื้อรังและอุบัติเหตุ จึงนำไปสู่ความถดถอยของร่างกายและจิตใจเกิดภาวะพึ่งพิง ไม่สามารถช่วยเหลือตัวเองได้หรือช่วยเหลือตัวเองได้น้อย หรืออาจมีอาการสมองเสื่อม เกิดภาวะทุพพลภาพในที่สุดสิ่งเหล่านี้ทำให้ผู้สูงอายุดำเนินอยู่อย่างไม่มีความสุข ผู้สูงอายุจึงควรได้รับการดูแลทั้งด้านร่างกายและจิตใจจากคนรอบข้าง และผู้สูงอายุเองจำเป็นต้องให้ความสนใจดูแลสุขภาพตนเองให้สมบูรณ์แข็งแรงมีคุณภาพชีวิตที่ดี ป้องกันการเกิดโรคต่างๆ รวมทั้งฟื้นฟูสุขภาพเมื่อมีภาวะของโรค และควบคุมให้ภาวะของโรคเหล่านั้นมีอาการคงที่ ไม่กำเริบรุนแรงหรือเสื่อมถอยมากกว่าเดิม จึงทำให้ผู้สูงอายุมีชีวิตอยู่อย่างมีคุณค่า สามารถทำประโยชน์ให้แก่สังคม และมีความสุขในบั้นปลายของชีวิต ดังนั้นการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุจึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่ทุกฝ่ายจะต้องร่วมมืออย่างจริงจังและต่อเนื่องในการเตรียมความพร้อมให้ผู้สูงอายุทุกคนตลอดจนบุคคลในครอบครัวและชุมชน เพื่อเป็นการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุให้มีอายุขัยที่ยืนยาวขึ้น
มีสุขภาพแข็งแรงทั้งร่างกายและจิตใจ อันนำไปสู่คุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นของผู้สูงอายุ อาสาสมัครประจำหมู่บ้าน (อสม.) หมู่ 1 บ้านเบอเส้ง จึงได้จัดทำโครงการ อสม. ใส่ใจผู้สูงวัยสุขภาพดี
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับการคัดกรองสุขภาพกายและสุขภาพจิตตามแบบประเมินคัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุ 9 ด้าน
- เพื่อเสริมสร้างทักษะในการดูแลสุขภาพร่างกายของ ผู้สูงอายุ
- จัดตั้งชมรมผู้สูงอายุในหมู่บ้าน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- อบรมให้ความรู้ผู้สูงอายุ แบ่งเป็น 2 รุ่นๆ ละ 50 คน
- ฝึกปฏิบัติการดูแลผู้สูงอายุแบบง่ายและการออกกำลังกายป้องกันการหกล้มในผู้สูงอายุ แบ่งเป็น 2 รุ่นๆ ละ 50 คน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 100 | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้สูงอายุได้รับการคัดกรองสุขภาพกายและสุขภาพจิตตามแบบประเมินคัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาวในชุมชน
- ผู้สูงอายุมีทักษะในการดูแลสุขภาพ
- ผู้สูงอายุมีปฏิสัมพันธ์และสามารถอยู่ร่วมกันภายใต้สังคมผู้สูงอายุและครอบครัว
- ผู้สูงอายุมีความรู้และสามารถดูแลสุขภาพของตนเองเบื้องต้น
- สามารถดำเนินงานชมรมผู้สูงอายุและเครือข่ายให้ยั่งยืน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. อบรมให้ความรู้ผู้สูงอายุ แบ่งเป็น 2 รุ่นๆ ละ 50 คน |
||
วันที่ 1 กันยายน 2566 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
0 | 0 |
2. ฝึกปฏิบัติการดูแลผู้สูงอายุแบบง่ายและการออกกำลังกายป้องกันการหกล้มในผู้สูงอายุ แบ่งเป็น 2 รุ่นๆ ละ 50 คน |
||
วันที่ 1 กันยายน 2566 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำดำเนินการจัดอบรมเชิงปฏิบัติการ ผู้สูงอายุ ประเมินคัดกรองผู้สูงอายุ 9 ด้าน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
0 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับการคัดกรองสุขภาพกายและสุขภาพจิตตามแบบประเมินคัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุ 9 ด้าน ตัวชี้วัด : |
0.00 |
|
||
2 | เพื่อเสริมสร้างทักษะในการดูแลสุขภาพร่างกายของ ผู้สูงอายุ ตัวชี้วัด : |
0.00 |
|
||
3 | จัดตั้งชมรมผู้สูงอายุในหมู่บ้าน ตัวชี้วัด : |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 100 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 100 | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับการคัดกรองสุขภาพกายและสุขภาพจิตตามแบบประเมินคัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุ 9 ด้าน (2) เพื่อเสริมสร้างทักษะในการดูแลสุขภาพร่างกายของ ผู้สูงอายุ (3) จัดตั้งชมรมผู้สูงอายุในหมู่บ้าน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้ผู้สูงอายุ แบ่งเป็น 2 รุ่นๆ ละ 50 คน (2) ฝึกปฏิบัติการดูแลผู้สูงอายุแบบง่ายและการออกกำลังกายป้องกันการหกล้มในผู้สูงอายุ แบ่งเป็น 2 รุ่นๆ ละ 50 คน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการอสม. ใส่ใจผู้สูงวัยสุขภาพดี ม.1 บ้านเบอเส้ง ต.สะเตงนอก อ.เมือง จ.ยะลา ปีงบประมาณ 2566 จังหวัด
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสาวรอบีอ๊ะ สาและ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......