กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.จวบ


“ โครงการตำบล TO BE NUMBER ONE อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส ปีงบประมาณ2566 ”

ตำบลจวบ อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางนีซะ บือซา

ชื่อโครงการ โครงการตำบล TO BE NUMBER ONE อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส ปีงบประมาณ2566

ที่อยู่ ตำบลจวบ อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 66-L8422-01-08 เลขที่ข้อตกลง 66-L8422-01-08

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 10 กรกฎาคม 2566 ถึง 29 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการตำบล TO BE NUMBER ONE อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส ปีงบประมาณ2566 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลจวบ อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.จวบ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการตำบล TO BE NUMBER ONE อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส ปีงบประมาณ2566



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการตำบล TO BE NUMBER ONE อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส ปีงบประมาณ2566 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลจวบ อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 66-L8422-01-08 ระยะเวลาการดำเนินงาน 10 กรกฎาคม 2566 - 29 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 31,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.จวบ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ในปัจจุบันปัญหายาเสพติดยังคงเป็นปัญหาที่สำคัญและต้องเร่งรัดในการป้องกันและแก้ไขปัญหาอย่างจริงจังและต่อเนื่องตามแผนยุทธศาสตร์ตามที่กระทรวงกำหนด ดังนั้นการนำเอายุทธศาสตร์ในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดมาใช้ในการดูแลเยาวชนให้ห่างไกลจากยาเสพติดนั้นเป็นเรื่องที่ต้องปลุกฝั่งเรื่องความรู้ยาเสพติดวิธีการปฏิเสธเพื่อนเพราะปัจจุบันสาเหตุที่ทำให้เยาวชนไปเกี่ยวข้องกับยาเสพติดส่วนใหญ่มาจากเพื่อน ภาวะเครียด ความผิดหวังและปัญหาครอบครัวเนื่องจากสถานการณ์ ผู้เสพ/ผู้ติดยาเสพติดของโรงพยาบาลเจาะไอร้อง มีอัตราผู้เสพ/ผู้ติดยาเสพติดได้รับการบำบัดเพิ่มขึ้นทุกปี ปี 2562 จำนวน121 คน ปี 2563 จำนวน 212 คนและ ปี 2564 จำนวน151คนในขณะเดียวกันพบว่าเยาวชนที่มีการ เสพสารเสพติดอยู่ในกลุ่มอายุ 10-24 ปีซึ่งเป็นเยาวชนที่กำลังเติบโต ส่วนมากที่ทำให้เยาวชนเสพสารเสพติดมาจาก เพื่อน ภาวะเครียด การเข้าสังคมและครอบครัวและปัจจุบันนี้ตำบลจวบมีชมรมทูบีนัมเบอวันในชุมชน ๔ ชมรมได้แก่ชมรมทูบีนัมเบอวันชุมชนบาโงดุดุง ชุมชนเจาะไอร้อง ชุมชนกือรงและชุมชนบ้านโคก และยังไม่มีชมรมทูบีนัมเบอวันในสถานศึกษาอีกซึ่งยังไม่ครอบคลุมของการสร้างแกนนำและขยายเครือข่าย นั้น ดังนั้นโรงพยาบาลเจาะไอร้อง อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส จึงเล็งเห็นความสำคัญในการดูแลเยาวชนตำบลจวบ เพื่อห่างไกลจากยาเสพติด ทางโรงพยาบาลเจาะไอร้อง จึงดำเนินการจัดโครงการตำบล TO BE NUMBER ONE อ.เจาะไอร้อง จ.นราธิวาสปีงบประมาณ 2566 ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้เยาวชนมีความรู้เรื่องยาเสพติดให้โทษและสามารถปฏิเสธได้ 2. เพื่อให้เยาวชนมีภูมิคุ้มกันทางจิตใจไม่ยุ่งกับยาเสพติด 3. เพื่อไม่ให้พบผู้เสพยาเสพติดรายใหม่เพิ่มขึ้นในเยาวชน ตำบลจวบ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องการจัดตั้งชมรมทูบีนัมเบอวันในชุมชน อ.เจาะไอร้อง จ.นราธิวาส (หมู่ที่ 2, 4, 7 ,8 ต.จวบ)
  2. 2.กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องการจัดตั้งชมรมทูบีนัมเบอวันในสถานศึกษาตำบลจวบ อ.เจาะไอร้องจ.นราธิวาส ( รุ่นที่1รร.สัมพันธ์วิทยา รร.อัลเราะห์มานอนุสรณ์ รร.เจาะไอร้อง รร.บ้านลูโบะเยาะ ) (รุ่นที่2 รร.บ้านโคก รร.บ้านยานิง และ รร.บาโงดุดุง) แบ่งเป็น 2 รุ่นละ 50 ค

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 265
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.เพื่อให้นักเรียนและเยาวชนมีความรู้เรื่องยาเสพติด 2.มีชมรมทูบีนัมเบอวันในชุมชนเพิ่มขึ้นร้อยละ 100 3.มีสถานศึกษาเพิ่มขึ้นร้อยละ40


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อให้เยาวชนมีความรู้เรื่องยาเสพติดให้โทษและสามารถปฏิเสธได้ 2. เพื่อให้เยาวชนมีภูมิคุ้มกันทางจิตใจไม่ยุ่งกับยาเสพติด 3. เพื่อไม่ให้พบผู้เสพยาเสพติดรายใหม่เพิ่มขึ้นในเยาวชน ตำบลจวบ
ตัวชี้วัด : 1.นักเรียนและเยาวชนตำบลจวบมีความรู้เรื่องยาเสพติดร้อยละ 80 2.มีการจัดตั้งชมรมทูบีนัมเบอวันในหมู่บ้านเพิ่มขึ้นร้อยละ 100 3.การการจัดตั้งชมรมทูบีนัมเบอวันในสถานศึกษาตำบลจวบร้อยละ 40
1.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 265
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 265
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้เยาวชนมีความรู้เรื่องยาเสพติดให้โทษและสามารถปฏิเสธได้  2. เพื่อให้เยาวชนมีภูมิคุ้มกันทางจิตใจไม่ยุ่งกับยาเสพติด  3. เพื่อไม่ให้พบผู้เสพยาเสพติดรายใหม่เพิ่มขึ้นในเยาวชน ตำบลจวบ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องการจัดตั้งชมรมทูบีนัมเบอวันในชุมชน อ.เจาะไอร้อง จ.นราธิวาส (หมู่ที่ 2, 4, 7 ,8 ต.จวบ) (2) 2.กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องการจัดตั้งชมรมทูบีนัมเบอวันในสถานศึกษาตำบลจวบ อ.เจาะไอร้องจ.นราธิวาส ( รุ่นที่1รร.สัมพันธ์วิทยา รร.อัลเราะห์มานอนุสรณ์ รร.เจาะไอร้อง รร.บ้านลูโบะเยาะ ) (รุ่นที่2 รร.บ้านโคก รร.บ้านยานิง และ รร.บาโงดุดุง) แบ่งเป็น 2 รุ่นละ 50 ค

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการตำบล TO BE NUMBER ONE อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส ปีงบประมาณ2566 จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 66-L8422-01-08

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางนีซะ บือซา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด