กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการโรงเรียนปลอดขยะ (Zero Waste School) โดยการมีส่วนร่วมกับชุมชน "การสร้างเสริมสุขภาพหรือการป้องกันโรค" ”




หัวหน้าโครงการ
นายโอภาส ภูดินดาน




ชื่อโครงการ โครงการโรงเรียนปลอดขยะ (Zero Waste School) โดยการมีส่วนร่วมกับชุมชน "การสร้างเสริมสุขภาพหรือการป้องกันโรค"

ที่อยู่ จังหวัด

รหัสโครงการ 66-L3068-10(2)-09 เลขที่ข้อตกลง 09/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2566

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการโรงเรียนปลอดขยะ (Zero Waste School) โดยการมีส่วนร่วมกับชุมชน "การสร้างเสริมสุขภาพหรือการป้องกันโรค" จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บางตาวา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการโรงเรียนปลอดขยะ (Zero Waste School) โดยการมีส่วนร่วมกับชุมชน "การสร้างเสริมสุขภาพหรือการป้องกันโรค"



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการโรงเรียนปลอดขยะ (Zero Waste School) โดยการมีส่วนร่วมกับชุมชน "การสร้างเสริมสุขภาพหรือการป้องกันโรค" " ดำเนินการในพื้นที่ รหัสโครงการ 66-L3068-10(2)-09 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2566 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 27,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บางตาวา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมที่รุนแรงมากขึ้นทุกวันนี้ ส่วนหนึ่งมาจาก ขยะ ซึ่งเป็นปัญหาพื้นฐานของชุมชนและโรงเรียนบ้านบ้านปากบางตาวา ก่อให้เกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมภายในชุมชนและโรงเรียน อาทิเช่น เป็นแหล่งอาหารและแหล่งเพาะพันธุ์ของพาหะนำโรค เช่น แมลงวัน แมลงสาบ ยุงฯลฯ เป็นแหล่งแพร่กระจายเชื้อโรคมีกลิ่นเหม็นก่อให้เกิดความรำคาญ ทำลายสุนทรียภาพด้านสิ่งแวดล้อม เกิดสภาพไม่น่าดู สกปรกน่ารังเกียจ ขยะทำให้น้ำเสียที่มีความสกปรกสูงมากเกิดกลิ่นรบกวนเป็นแหล่งสะสมเชื้อโรคส่งผลกระทบต่อสุขภาพอนามัยของนักเรียนและประชาชน องค์การอนามัยโลก(World Health Organizationะ WHO) ได้ให้ความหมายแก่ขยะมูลฝอยไว้ว่าคือสิ่งของจากบ้านเรือนที่ประชาชนไม่ต้องการแล้วมีผู้นำไปใช้ประโยชน์จนสุดท้ายไม่มีผู้นำไปใช้ประโยชน์ได้แล้วและถูกทิ้ง ให้กับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นไปกำจัดจัดเก็บและขนส่งนั่นหมายความว่าสิ่งของที่เราทิ้งจากที่บ้านถ้ายังมีคนนำไปใช้ประโยชน์ต่อได้สิ่งนั้นก็จะยังไม่ใช่ขยะจากความหมายดังกล่าวได้รับการตอกย้ำด้วยแนวคิดที่เห็นคุณค่าจากขยะดังเช่น "พอเพียง 5 enough" "ขยะคือทรัพยากร" การใช้ทรัพยากรอย่างพอดีเห็นคุณค่าบวกกับการใช้ภูมิปัญญาชาวบ้านกับวัสดุเหลือใช้ที่มีรอบบ้านเป็นแนวทางหนึ่งในการแก้ปัญหาขยะ นอกจากนี้สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการได้จัดทำแผนแม่บทการบริหารจัดการขยะมูลฝอยของ ประเทศ (พ.ศ.2559-2564) ตามนโยบายของรัฐบาลในการจัดการขยะมูลฝอย เพื่อเป็นการสร้างจิตสำนึก และรณรงค์การคัดแยกขยะประเภทขยะมูลฝอยที่ต้นทางให้แก่นักเรียนและเยาวชนในโรงเรียนและสถานศึกษาทุกแห่งในสังกัด โดยโรงเรียนบ้านปากบางตาวาตั้งอยู่ในพื้นที่ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี เปิดทำการสอนตั้งแต่ระดับชั้นอนุบาล 1ถึงชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 มีจํานวนนักเรียน 232 คน ผู้บริหาร คณะครูและบุคลากรทางการศึกษา 30 คน รวมทั้งสิ้น 262 คน โดยเด็กนักเรียนส่วนใหญ่อาศัยอยู่ในพื้นที่ ม.1 ตำบลบางตาวาซึ่งเป็นเป็นชุมชนที่จำนวนขยะตกค้างเป็นจำนวนมากเนื่องจากเด็ก เยาวชน และประชาชนยังขาดความรู้ความเข้าใจใน การคัดแยกขยะ ขาดจิตสำนึกในการทิ้งขยะลงถัง ทำให้เกิดขยะตกค้างและสกปรกส่งกลินเหม็นและเป็นแหล่งอาหารและแหล่งเพาะพันธุ์ของพาหะนำโรคดังนั้นเพื่อให้ทุกคนตระหนักถึงความสำคัญของ เรื่องดังกล่าวและส่งเสริมสนับสนุนการสร้างเครือข่ายสถานศึกษา ที่ดำเนินกิจกรรมลดคัดแยก และนำกลับขยะมาใช้ประโยชน์ การรวบรวมขยะเพื่อส่งไปกำจัดอย่างถูกต้อง ปลูกฝังจิตสำนึกการลดคัดแยกขยะ และนำขยะกลับมาใช้ประโยชน์ใหม่ในสถานศึกษา สร้างระบบการเรียนรู้ผ่านกิจกรรมต่าง ๆและส่งเสริมการมีส่วนร่วมของผู้เรียนในการจัดการขยะภายในสถานศึกษา เพื่อมุ่งสู่สถานศึกษาปลอดขยะอย่างแท้จริงตลอดจนขยายผลต่อจนกลายเป็นชุมชนปลอดขยะต่อไป ดังนั้นโรงเรียนบ้านปากบางตาวาจึงดำเนินโครงการโรงเรียนปลอดขยะ (Zero Waste School) โดยการมีส่วนร่วมกับชุมชน "การสร้างเสริมสุขภาพหรือการป้องกันโรค" ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้ นักเรียนครู บุคลากรและชุมชนบางตาวามีความรู้ ความเข้าใจ แนวทางการลดปริมาณขยะ การแยกขยะ และการนำขยะกลับไปใช้ประโยชน์ใหม่
  2. เพื่อให้สามารถออกแบบความคิดสร้างสรรค์โดยการประดิษฐ์ คิดค้นอุปกรณ์ที่ใช้ในการทำความสะอาดจากการนำเศษวัสดุเหลือใช้ในโรงเรียน กลับมาใช้ให้เกิดประโยชน์ เพิ่มมากขึ้น
  3. เพื่อให้นักเรียนมีความรู้เพิ่มเติมการคัดแยกขยะ นำขยะกลับมาใช้ประโยชน์ใหม่ทำให้ปริมาณขยะในโรงเรียนลดลง รวมถึงได้ลงมือปฎิบัติจริง จากการเข้าทำกิจกรรมในฐานการเรียนรู้ ทั้ง5 ฐานกิจกรรม และสามารถนำไปใช้ให้เกิดประโยชน์ สามารถทำงานร่วมกันอย่างเป็น ระบบในการจัดการขยะอย่างถูกวิธี
  4. เพื่อให้นักเรียนรู้จักช่วยกันดูแลรักษาความสะอาดในโรงเรียน รักและดูแลสิ่งแวดล้อมในโรงเรียนและในชุมชน
  5. เพื่อให้นักเรียน ผู้ปกครอง รวมถึงชุมชนมีความรักและช่วยกันดูแล รักษาความสะอาด ที่อยู่อาศัย ให้สะอาดน่าอยู่ ตามกิจกรรม บ้านปลอดขยะ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการส่งเสริมความรู้ และสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับการการคัดแยกประเภทขยะ ให้กับนักเรียน ผู้ปกครอง และชาวบ้านในชุมชน รวมถึงคณะครู บุคลากรครูโรงเรียนบ้านปากบางตาวา
  2. หนูน้อยนักคิดประดิษฐ์สร้างสรรค์นวัตกรรมของเรา
  3. โรงเรียนรักษ์สะอาด ปราศจากขยะรู้รักษ์สิ่งแวดล้อม
  4. ฐานการเรียนรู้ 5 ฐาน
  5. บ้านปลอดขยะ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 232
กลุ่มวัยทำงาน 30
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. นักเรียนในโรงเรียน ครูบุคลากร ผู้ปกครองรวมถึงชาวบ้านในชุมชนได้รับความรู้ความเข้าใจเกี่ยวส่งเสริมความรู้การคัดแยก ประเภทขยะ8๐ %
  2. นักเรียนสามารถออกแบบความคิดสร้างสรรค์โดยการประดิษฐ์ คิดค้นอุปกรณ์ที่ใช้ในการทำความสะอาดจากการนำเศษวัสดุเหลือใช้ในโรงเรียน กลับมาใช้ให้เกิดประโยชน์ เพิ่มมากขึ้น
  3. นักเรียนได้รับความรู้เพิ่มเติมรวมถึงได้ลงมือปฎิบัติจริง จากการเข้าทำกิจกรรมในฐานการเรียนรู้ ทั้ง5 ฐานกิจกรรม และสามารถนำไปใช้ให้เกิดประโยชน์ได้ต่อไป
  4. นักเรียนในโรงเรียนบ้านปากบางตาวารู้จักรักษ์ดูแลและช่วยกันทำความสะอาดโรงเรียนบ้านปากบางตาวา ให้ปราศจากขยะ มีสิ่งแวดล้อมที่สวยงามและเอื้อต่อการจัดการเรียนรู้
  5. ชุมชนมีบ้านตัวอย่าง ปลอดขยะ”

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. โรงเรียนรักษ์สะอาด ปราศจากขยะรู้รักษ์สิ่งแวดล้อม

วันที่ 1 กันยายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมที่ 4 โรงเรียนรักษ์สะอาด  ปราศจากขยะรู้รักษ์สิ่งแวดล้อม 1.นักเรียนทุกคนในโรงเรียนจะมีเขตพื้นที่ดูแลและช่วยกันทำความสะอาด ตามจุดของตนเอง โดยโรงเรียนจัดซื้อวัสดุและอุปกรณ์ให้

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

โรงเรียนในพื้นที่มีความสะอาดปราศจากเชื้อโรคและแหล่งเพาะพันธ์ยุงลาย

 

0 0

2. หนูน้อยนักคิดประดิษฐ์สร้างสรรค์นวัตกรรมของเรา

วันที่ 1 กันยายน 2566 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมที่ 2 หนูน้อยนักคิดประดิษฐ์สร้างสรรค์นวัตกรรมของเรา     2.1 จัดกิจกรรมประกวดความคิดสร้างสรรค์การประดิษฐ์ คิดค้นอุปกรณ์ที่ใช้ในการทำความสะอาดที่นำเศษวัสดุเหลือใช้มาออกแบบสร้างสรรค์ และนำมาใช้ประโยชน์

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

นักเรียนสามารถออกแบบความคิดสร้างสรรค์โดยการประดิษฐ์ คิดค้นอุปกรณ์ที่ใช้ในการทำความสะอาดจากการนำเศษวัสดุเหลือใช้ในโรงเรียน กลับมาใช้ให้เกิดประโยชน์ เพิ่มมากขึ้น

 

0 0

3. ฐานการเรียนรู้ 5 ฐาน

วันที่ 1 กันยายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

 

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.มีฐานเรียนรู้ต้นแบบในการจัดการขยะในโรงเรียน 2.สามารถเป็นต้นแบบในการจัดการในชุมชน

 

0 0

4. จัดอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการส่งเสริมความรู้ และสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับการการคัดแยกประเภทขยะ ให้กับนักเรียน ผู้ปกครอง และชาวบ้านในชุมชน รวมถึงคณะครู บุคลากรครูโรงเรียนบ้านปากบางตาวา

วันที่ 28 กันยายน 2566 เวลา 08:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

08.00 - 09.00 ลงทะเบียน 09.00-10.00 พิธีเปิด อบรมโดยนายโอภาส ภูดินดาน ผอ.รร.บ้านปากบางตาวา 10.00-10.15  พักรับประทานอาหารว่าง 10.15- 12.0 อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการส่งเสริมความรู้และสร้างความเข้าใจเรื่องขยะ และการคัดแยกขยะให้กับนักเรียน ผู้ปกครอง ชาวบ้าน ครูและบุคลากรในโรงเรียน 12.00-13.00 พักรับบประทานอาหารกลางวัน 13.00 - 14.00 ให้ความรู้สร้างความเข้าใจการคัดแยกขยะประเภทอย่างถูกวิธี 14.00-14.15 พักรับประทานอาหารว่าง 14.15-16.00 ร่วมกิจกรรมภาคปฏิบัติ 16.00-16.30 พิธีปิดโดยนายโอภาส ภูดินดาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.กลุ่มเป้าหมายมีความรู้การคัดแยกขยะที่ถูกต้องหลักจากเข้าร่วมกิจกรรม 2.เด็กนักเรียนสามารถปฏิบัติได้จริงหลังจากฝึกปฏิบัติ

 

0 0

5. บ้านปลอดขยะ

วันที่ 1 ตุลาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมที่ 5 บ้านปลอดขยะ 5.1 คุณครูให้นักเรียนในแต่ละชั้นเรียนสมัครเข้าร่วมกิจกรรมและคัดเลือกตัวแทนชั้นเรียนละ 1 หลัง  เพื่อเข้าแข่งขันในระดับโรงเรียนและชุมชน 5.2 จัดชื้อวัสดุอุปกรณ์ให้กับบ้านที่ชนะการประกวด ในแต่ละชั้น 5.3 แต่งตั้งคณะกรรมการประเมินและเพื่อตัดสิน  บ้านในชุมชนที่เข้าร่วม “ กิจกรรมบ้านปลอดขยะ”

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.มีบ้านต้นแบบในการจัดการขยะในชุมชนและสร้างแรงจูงใจให้เพื่อนบ้านรักความสะอาด

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้ นักเรียนครู บุคลากรและชุมชนบางตาวามีความรู้ ความเข้าใจ แนวทางการลดปริมาณขยะ การแยกขยะ และการนำขยะกลับไปใช้ประโยชน์ใหม่
ตัวชี้วัด : นักเรียน ครู บุคลากรทางการศึกษา ของโรงเรียนบ้านปากบางตาวา ร้อยละ 8๐ สามารถคัดแยกขยะ นำขยะกลับไปใช้ประโยชน์ใหม่ และปริมาณขยะในโรงเรียนลดลง
0.00

 

2 เพื่อให้สามารถออกแบบความคิดสร้างสรรค์โดยการประดิษฐ์ คิดค้นอุปกรณ์ที่ใช้ในการทำความสะอาดจากการนำเศษวัสดุเหลือใช้ในโรงเรียน กลับมาใช้ให้เกิดประโยชน์ เพิ่มมากขึ้น
ตัวชี้วัด : นักเรียนร้อยละ 8๐ สามารถออกแบบความคิดสร้างสรรค์โดยการประดิษฐ์ คิดค้นอุปกรณ์ที่ใช้ในการทำความสะอาดจากการนำเศษวัสดุเหลือใช้ในโรงเรียน กลับมาใช้ให้เกิดประโยชน์
0.00

 

3 เพื่อให้นักเรียนมีความรู้เพิ่มเติมการคัดแยกขยะ นำขยะกลับมาใช้ประโยชน์ใหม่ทำให้ปริมาณขยะในโรงเรียนลดลง รวมถึงได้ลงมือปฎิบัติจริง จากการเข้าทำกิจกรรมในฐานการเรียนรู้ ทั้ง5 ฐานกิจกรรม และสามารถนำไปใช้ให้เกิดประโยชน์ สามารถทำงานร่วมกันอย่างเป็น ระบบในการจัดการขยะอย่างถูกวิธี
ตัวชี้วัด : ครู นักเรียนและบุคลากรทางการศึกษา มีระบบการจัดการขยะอย่างถูกวิธี
0.00

 

4 เพื่อให้นักเรียนรู้จักช่วยกันดูแลรักษาความสะอาดในโรงเรียน รักและดูแลสิ่งแวดล้อมในโรงเรียนและในชุมชน
ตัวชี้วัด : ผู้ปกครองและชุมชน ได้รับความรู้ความเข้าใจ สามารถคัดแยกขยะ นำขยะกลับไปใช้ประโยชน์ใหม่
0.00

 

5 เพื่อให้นักเรียน ผู้ปกครอง รวมถึงชุมชนมีความรักและช่วยกันดูแล รักษาความสะอาด ที่อยู่อาศัย ให้สะอาดน่าอยู่ ตามกิจกรรม บ้านปลอดขยะ
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 262 262
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 232 232
กลุ่มวัยทำงาน 30 30
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้ นักเรียนครู บุคลากรและชุมชนบางตาวามีความรู้ ความเข้าใจ แนวทางการลดปริมาณขยะ การแยกขยะ และการนำขยะกลับไปใช้ประโยชน์ใหม่ (2) เพื่อให้สามารถออกแบบความคิดสร้างสรรค์โดยการประดิษฐ์ คิดค้นอุปกรณ์ที่ใช้ในการทำความสะอาดจากการนำเศษวัสดุเหลือใช้ในโรงเรียน กลับมาใช้ให้เกิดประโยชน์ เพิ่มมากขึ้น (3) เพื่อให้นักเรียนมีความรู้เพิ่มเติมการคัดแยกขยะ นำขยะกลับมาใช้ประโยชน์ใหม่ทำให้ปริมาณขยะในโรงเรียนลดลง  รวมถึงได้ลงมือปฎิบัติจริง จากการเข้าทำกิจกรรมในฐานการเรียนรู้ ทั้ง5 ฐานกิจกรรม และสามารถนำไปใช้ให้เกิดประโยชน์ สามารถทำงานร่วมกันอย่างเป็น ระบบในการจัดการขยะอย่างถูกวิธี (4) เพื่อให้นักเรียนรู้จักช่วยกันดูแลรักษาความสะอาดในโรงเรียน รักและดูแลสิ่งแวดล้อมในโรงเรียนและในชุมชน (5) เพื่อให้นักเรียน ผู้ปกครอง รวมถึงชุมชนมีความรักและช่วยกันดูแล รักษาความสะอาด ที่อยู่อาศัย ให้สะอาดน่าอยู่ ตามกิจกรรม บ้านปลอดขยะ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการส่งเสริมความรู้ และสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับการการคัดแยกประเภทขยะ ให้กับนักเรียน  ผู้ปกครอง และชาวบ้านในชุมชน  รวมถึงคณะครู บุคลากรครูโรงเรียนบ้านปากบางตาวา (2) หนูน้อยนักคิดประดิษฐ์สร้างสรรค์นวัตกรรมของเรา (3) โรงเรียนรักษ์สะอาด  ปราศจากขยะรู้รักษ์สิ่งแวดล้อม (4) ฐานการเรียนรู้ 5 ฐาน (5) บ้านปลอดขยะ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการโรงเรียนปลอดขยะ (Zero Waste School) โดยการมีส่วนร่วมกับชุมชน "การสร้างเสริมสุขภาพหรือการป้องกันโรค"

รหัสโครงการ 66-L3068-10(2)-09 รหัสสัญญา 09/2566 ระยะเวลาโครงการ 1 กรกฎาคม 2566 - 30 กันยายน 2566

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

การอบรมให้ความรู้การบริหารจัดการขยะที่ถูกต้องและเห็นความสำคัญของความสะอาด

กิจกรรมอบรมให้ความรู้การจัดการขยะที่ถูกต้องโดยวิทยากรจากสำนักงานสิ่งแวดล้อมที่ 12

ดำเนินการอย่างต่อเนื่องและสร้างแรงจูงใจในการบริหารจัดการขยะที่ถูกต้อง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

การจัดทำนวัตกรรมโดยการให้เด็กได้ลงมือปฏิบัติเอง

ฐานเรียนรู้การจัดการขยะ

ดำเนินการอย่างต่อเนื่องและถ่ายให้กับคนในชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

การจัดทำฐานเรียนครบวงจร

ฐานเรียนรู้การจัดการขยะทุกประเภทในโรงเรียน

สร้างแหล่งเรียนใหม่เพิ่มขึ้นเพื่อสร้างความต่อเนื่องในการจัดการขยะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

โครงการโรงเรียนปลอดขยะ (Zero Waste School) โดยการมีส่วนร่วมกับชุมชน "การสร้างเสริมสุขภาพหรือการป้องกันโรค" จังหวัด

รหัสโครงการ 66-L3068-10(2)-09

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายโอภาส ภูดินดาน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด