กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการชุมชนสะอาด หน้าบ้าน น่ามอง
รหัสโครงการ 66-L4127-02-01
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ กลุ่มจิตอาสาพัฒนาหมู่บ้าน
วันที่อนุมัติ 22 กุมภาพันธ์ 2566
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 ตุลาคม 2565 - 30 ธันวาคม 2566
กำหนดวันส่งรายงาน 31 ธันวาคม 2566
งบประมาณ 40,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวแอเสาะ สอรี
พี่เลี้ยงโครงการ นางสาวนูรไอนี อาแว
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลบาเจาะ อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา
ละติจูด-ลองจิจูด 6.212,101.291place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานขยะ , แผนงานมลพิษจากสิ่งแวดล้อม , แผนอนามัยและสิ่งแวดล้อม
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 140 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ปริมาณขยะของครัวเรือนทั้งหมดในชุมชนต่อวัน
65.00
2 ร้อยละของครัวเรือนที่คัดแยกขยะเป็นประจำ
65.00
3 ร้อยละของครัวเรือนที่ใช้วัสดุอย่างคุ้มค่าที่สุดก่อนทิ้ง (reuse) เช่น การใช้ถุงพลาสติกซ้ำ ใช้ขวดน้ำซ้ำ ใช้กระดาษสองหน้า
65.00
4 ร้อยละของครัวเรือนที่ใช้ประโยชน์ขยะเปียก เช่น การทำปุ๋ยหมัก การทำน้ำหมักชีวภาพ
65.00
5 ร้อยละของครัวเรือนที่นำวัสดุใช้แล้วมาแปรรูปใช้ใหม่ (recycle) เช่น นำเศษผ้ามาทำถุงผ้า ผ้าเช็ดเท้า
65.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ถนนและทางเท้า เป็นสถานที่ซึ่งตามความหมายและขอบเขตในมาตรา 4 แห่งพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ.2535 ได้ให้จำกัดความไว้ “ที่สาธารณะ” หมายถึง สถานที่หรือทางซึ่งมิใช่เป็นของเอกชน และประชาชนสามารถใช้ประโยชน์หรือสัญจรได้ ซึ่งครอบคลุมถึงพื้นที่ที่เป็นสวนสาธารณะ ถนนหนทาง ทางเท้าทางน้ำ ที่ประชาชนสัญจรไปมาตามปกติ เพื่อคุ้มครองให้ประชาชนไว้ใช้ประโยชน์เพื่อการสัญจร มีสภาวะที่เหมาะสมมีความปลอดภัย สะดวกสบายเอื้อต่อการดำรงชีวิตที่ดีของประชาชน ปัจจุบันสถานการณ์ของสังคมเกิดความเปลี่ยนแปลง ในชุนต่างๆ มีการรุกล้ำ และใช้ถนนทางเท้าประกอบกิจกรรมต่างๆ จนเสียดุลภาพ กระทบต่อสภาวะสมดุลของเมือง ประชาชนทั่วไปไม่สามารถใช้ถนนและทางเท้าในการสัญจรได้สะดวก นอกจากนี้การไม่มีวินัยในการทิ้งขยะและวัสดุเหลือใช้ ทำให้สภาพแวดล้อมของถนนและทางเท้าเป็นแหล่งสะสมหมักหมมของสิ่งสกปรกกลายเป็นแหล่งเพาะพันธ์เชื้อโรค และสภาพภูมิทัศน์ของเมืองไม่สวยงาม ไม่มีความเป็นระเบียบเรียบร้อย ด้วยสถานการณ์ดังกล่าว ประกอบกับพฤติกรรมของประชาชนที่ส่วนใหญ่ ยังขาดจิตสำนึกในการมีส่วนร่วม ดูแลรักษาสภาพแวดล้อมภายในตำบล และขาดวินัยในการทิ้งขยะ วัสดุสิ่งของเหลือใช้ จึงต้องดำเนินการรณรงค์สร้างจิตสำนึกให้ประชาชนเข้ามาช่วยดูแลรักษา และทำกิจกรรมการพัฒนาทำความสะอาด พร้อมให้ความรู้สร้างความเข้าใจ เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมให้ประชาชน มีวินัยในการทิ้งขยะมูลฝอยและวัสดุเหลือใช้ อันจะเกิดผลดีต่อสภาพแวดล้อมอย่างาต่อเนื่องยั่งยืน

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อลดปริมาณขยะของครัวเรือนทั้งหมดในชุมชนต่อวัน

ปริมาณขยะของครัวเรือนทั้งหมดในชุมชนต่อวัน

65.00 80.00
2 เพื่อเพิ่มครัวเรือนที่คัดแยกขยะเป็นประจำ

ร้อยละของครัวเรือนที่คัดแยกขยะเป็นประจำ

65.00 80.00
3 เพื่อเพิ่มครัวเรือนที่ใช้วัสดุอย่างคุ้มค่าที่สุดก่อนทิ้ง (reuse)

ร้อยละของครัวเรือนที่ใช้วัสดุอย่างคุ้มค่าที่สุดก่อนทิ้ง (reuse) เช่น การใช้ถุงพลาสติกซ้ำ ใช้ขวดน้ำซ้ำ ใช้กระดาษสองหน้า

65.00 80.00
4 เพื่อเพิ่มครัวเรือนที่ใช้ประโยชน์ขยะเปียก เช่น การทำปุ๋ยหมัก การทำน้ำหมักชีวภาพ

ร้อยละของครัวเรือนที่ใช้ประโยชน์ขยะเปียก เช่น การทำปุ๋ยหมัก การทำน้ำหมักชีวภาพ

65.00 80.00
5 เพื่อเพิ่มครัวเรือนที่นำวัสดุใช้แล้วมาแปรรูปใช้ใหม่ (recycle)

ร้อยละของครัวเรือนที่นำวัสดุใช้แล้วมาแปรรูปใช้ใหม่ (recycle) เช่น นำเศษผ้ามาทำถุงผ้า ผ้าเช็ดเท้า

65.00 80.00
6 เพื่อส่งเสริมสนับสนุนให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการรักษาสิ่งแวดล้อมของบ้านเรือนในพื้นที่ตำบลบาเจาะ และพื้นที่สาธารณประโยชน์

 

7 กระตุ้นจิตสำนึกและสร้างแรงจูงใจ ให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการรักษาความสะอาดและความเป็นระเบียบร้อยในที่สาธารณะและ ถนน ทางน้ำและอาคารบ้านเรือนในพื้นตำบลบาเจาะ

 

8 เพื่อพัฒนาสภาพแวดล้อมในพื้นที่ตำบลบาเจาะ มีความเป็นระเบียบเรียบร้อย สภาพแวดล้อมทางกายภาพเอื้อต่อการมีสุขภาพดี

 

stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
ลำดับกิจกรรมหลักงบประมาณต.ค. 65พ.ย. 65ธ.ค. 65ม.ค. 66ก.พ. 66มี.ค. 66เม.ย. 66พ.ค. 66มิ.ย. 66ก.ค. 66ส.ค. 66ก.ย. 66ต.ค. 66พ.ย. 66ธ.ค. 66
1 ประชุมคณะทำงานกำหนดเกณฑ์การประกวดหมู่บ้านสะอาดและวางแผนการดำเนินงาน(17 พ.ค. 2566-17 พ.ค. 2566) 3,000.00                              
2 ประชุมชี้แจงโครงการแก่ผู้นำชุมชน, อสม. ,ประชาชนในทุกหมู่บ้านเพื่อทำความเข้าใจและทำความเข้าใจและขอความร่วมมือในการดำเนินงาน(1 ก.ค. 2566-30 ต.ค. 2566) 21,280.00                              
3 เดินรณรงค์ประชาสัมพันธ์สร้างการรับรู้และสร้างวินัยให้แก่ ประชาชน ในการมีส่วนร่วมลดและคัดแยกขยะมูลฝอยที่ตกค้าง(1 ส.ค. 2566-30 ธ.ค. 2566) 15,720.00                              
รวม 40,000.00
1 ประชุมคณะทำงานกำหนดเกณฑ์การประกวดหมู่บ้านสะอาดและวางแผนการดำเนินงาน กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 30 3,000.00 0 0.00
17 มิ.ย. 66 กิจกรรมประชุมคณะทำงานกำหนดเกณฑ์การประกวดหมู่บ้านสะอาดและวางแผนการดำเนินงาน 30 3,000.00 -
2 ประชุมชี้แจงโครงการแก่ผู้นำชุมชน, อสม. ,ประชาชนในทุกหมู่บ้านเพื่อทำความเข้าใจและทำความเข้าใจและขอความร่วมมือในการดำเนินงาน กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 140 21,280.00 0 0.00
1 ก.ค. 66 - 30 ก.ย. 66 . กิจกรรมดำเนินการตามโครงการฯ การคัดแยกขยะในครัวเรือนและหมู่บ้าน โดยการมีส่วนร่วมของประชาชน ผู้นำศาสนา เด็กและเยาวชน และองค์กรต่างๆ ในชุมชนทุกภาคส่วน โดยมีกิจกรรมดังนี้ 3.1 กิจกรรมประกวดต้นแบบบ้านสะอาด และการจัดการขยะมูลฝอยครัวเรือน 3.2 ประกาศผลและมอบ 140 21,280.00 -
3 เดินรณรงค์ประชาสัมพันธ์สร้างการรับรู้และสร้างวินัยให้แก่ ประชาชน ในการมีส่วนร่วมลดและคัดแยกขยะมูลฝอยที่ตกค้าง กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 140 15,720.00 0 0.00
1 ส.ค. 66 - 30 ธ.ค. 66 เดินรณรงค์ประชาสัมพันธ์สร้างการรับรู้และสร้างวินัยให้แก่ ประชาชน ในการมีส่วนร่วมลดและคัดแยกขยะมูลฝอยที่ตกค้าง 140 15,720.00 -

ขั้นเตรียมการ 1. เสนอโครงการเพื่อขอรับสนับสนุนงบประมาณจาก กองทุน สปสช.อบต.บาเจาะ 2. ประชุมคณะทำงาน เพื่อกำหนดแนวทางการดำเนินงาน 3. ประสานงานหน่วยงานและผู้ที่เกี่ยวข้อง 4. ประชาสัมพันธ์โครงการ 5. จัดเตรียมเอกสาร วัสดุ ที่จำเป็น ขั้นตอนดำเนินการ 1. ประชุมคณะทำงานกำหนดเกณฑ์การประกวดหมู่บ้านสะอาดและวางแผนการดำเนินงาน 2. ประชุมชี้แจงโครงการแก่ผู้นำชุมชน, อสม. ,ประชาชนในทุกหมู่บ้านเพื่อทำความเข้าใจและทำความเข้าใจและขอความร่วมมือในการดำเนินงาน 3. กิจกรรมดำเนินการตามโครงการฯ การคัดแยกขยะในครัวเรือนและหมู่บ้าน โดยการมีส่วนร่วมของประชาชน ผู้นำศาสนา เด็กและเยาวชน และองค์กรต่างๆ ในชุมชนทุกภาคส่วน โดยมีกิจกรรมดังนี้ 3.1 กิจกรรมประกวดต้นแบบบ้านสะอาด และการจัดการขยะมูลฝอยครัวเรือน 3.2 ประกาศผลและมอบเกียรติบัตรครัวเรือนสะอาดต้นแบบ 4. เดินรณรงค์ประชาสัมพันธ์สร้างการรับรู้และสร้างวินัยให้แก่ ประชาชน ในการมีส่วนร่วมลดและคัดแยกขยะมูลฝอยที่ตกค้าง
ขั้นประเมินผล 1. ประเมินความสะอาดของพื้นที่ก่อนและหลังทำกิจกรรม 2. จำนวนครั้งที่จัดกิจกรรม ขั้นรายงานผล 1. ตามแบบรายงานโครงการ

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. ประชาชนมีส่วนร่วมในการพัฒนาสภาพแวดล้อมของชุมชน
    1. สภาพแวดล้อมพื้นที่ตำบลบาเจาะมีความสะอาด สวยงาม เป็นระเบียบเรียบร้อย น่าอยู่อาศัย
    2. ประชาชนมีจิตสำนึกที่ดี มีส่วนร่วมในการพัฒนาตำบลให้น่าอยู่อย่างยั่งยืน และมีวินัยการทิ้งขยะมูลฝอย การรักษาความสะอาดและความเป็นระเบียบเรียบร้อยของตำบลบาเจาะ
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ